PPD's Official Website

Tuesday, November 29, 2016

อาคม ซิดนีย์-เพียงดิน รักไทย 30 พ.ย. 2559 ตอน เจ้าองค์ใหม่ vs รากปัญหาเก่าและวงจรอุบาทว์เดิม

อาคม ซิดนีย์-เพียงดิน รักไทย 30 พ.ย.  2559 

ตอน เจ้าองค์ใหม่ vs รากปัญหาเก่าและวงจรอุบาทว์เดิม


https://youtu.be/60B-vJ29NOY

https://youtu.be/vObXLyHFdDc

https://youtu.be/CxdUDEbaEcA

https://youtu.be/QsMPGOsXllc

https://youtu.be/kPWhLTK_lxk

https://youtu.be/ZGfDAZx3Flc

https://youtu.be/kPWhLTK_lxk


****************************

หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่

http://tinyurl.com/o2rzao8

หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt



อาคม ซิดนีย์-เพียงดิน รักไทย 30 พ.ย. 2559 ตอน เจ้าองค์ใหม่ vs รากปัญหาเก่าและวงจรอุบาทว์เดิม

อาคม ซิดนีย์-เพียงดิน รักไทย 30 พ.ย.  2559 

ตอน เจ้าองค์ใหม่ vs รากปัญหาเก่าและวงจรอุบาทว์เดิม


https://youtu.be/60B-vJ29NOY

https://youtu.be/vObXLyHFdDc

https://youtu.be/CxdUDEbaEcA

https://youtu.be/QsMPGOsXllc

https://youtu.be/kPWhLTK_lxk

https://youtu.be/ZGfDAZx3Flc

https://youtu.be/kPWhLTK_lxk


****************************

หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่

http://tinyurl.com/o2rzao8

หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt



ดร. เพียงดิน รักไทย 29 พ.ย. 2559 ตอน เรียบร้อย!! พระบรม ขึ้นเป็น ร. 10 มดแดงจะอวยช้างไหม?

ดร. เพียงดิน รักไทย 29 พ.ย.  2559 

ตอน เรียบร้อย!! พระบรม ขึ้นเป็น ร. 10 มดแดงจะอวยช้างไหม?

https://youtu.be/33ml-tn7idg

https://youtu.be/6BvQFkj1x20

https://youtu.be/khtN93NSAuA


****************************

หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่

http://tinyurl.com/o2rzao8

หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt


หากลิ้งค์ข้างบนถูกบล็อก ให้ส่งรายละเอียดไปที่ 4everche@gmail.com โดยระบุ 1. ชื่อ (จัดตั้งหรือชื่อกลุ่ม)  2. จำนวนสมาชิกในเครือข่าย 3. จังหวัดและอำเภอ  4. อีเมล์  5. ไลน์หรือเบอร์โทรศัพท์  6. อาชีพของท่านหรือสมาชิก





ดร. เพียงดิน รักไทย 29 พ.ย. 2559 ตอน เรียบร้อย!! พระบรม ขึ้นเป็น ร. 10 มดแดงจะอวยช้างไหม?

ดร. เพียงดิน รักไทย 29 พ.ย.  2559 

ตอน เรียบร้อย!! พระบรม ขึ้นเป็น ร. 10 มดแดงจะอวยช้างไหม?

https://youtu.be/33ml-tn7idg

https://youtu.be/6BvQFkj1x20

https://youtu.be/khtN93NSAuA


****************************

หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่

http://tinyurl.com/o2rzao8

หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt


หากลิ้งค์ข้างบนถูกบล็อก ให้ส่งรายละเอียดไปที่ 4everche@gmail.com โดยระบุ 1. ชื่อ (จัดตั้งหรือชื่อกลุ่ม)  2. จำนวนสมาชิกในเครือข่าย 3. จังหวัดและอำเภอ  4. อีเมล์  5. ไลน์หรือเบอร์โทรศัพท์  6. อาชีพของท่านหรือสมาชิก





Monday, November 28, 2016

อาคม ซิดนีย์-ดร. เพียงดิน รักไทย กรณีวัดพระธรรมกย ความต่ำช้าและบาปหนาของเผด็จการไทย

อาคม ซิดนีย์-ดร. เพียงดิน รักไทย กรณีวัดพระธรรมกย ความต่ำช้าและบาปหนาของเผด็จการไทย
---------------------
***Download ร่างจดหมาย เพื่อส่งผู้นำนานาชาติต่าง ๆ ที่ http://tinyurl.com/gsetacg
***โปรดช่วยกันกระจายและส่งให้มากที่สุดนะครับ ขอบคุณครับ
สนับสนุนแนวทางมดแดงล้มช้าง ของ คณะราษฎรเสรีไทย กับ ดร. เพียงดิน 
ส่งข้อมูลลับผ่านช่องทางที่ปลอดภัยทางลิ้ง?¸




อาคม ซิดนีย์-ดร. เพียงดิน รักไทย กรณีวัดพระธรรมกย ความต่ำช้าและบาปหนาของเผด็จการไทย

อาคม ซิดนีย์-ดร. เพียงดิน รักไทย กรณีวัดพระธรรมกย ความต่ำช้าและบาปหนาของเผด็จการไทย
---------------------
***Download ร่างจดหมาย เพื่อส่งผู้นำนานาชาติต่าง ๆ ที่ http://tinyurl.com/gsetacg
***โปรดช่วยกันกระจายและส่งให้มากที่สุดนะครับ ขอบคุณครับ
สนับสนุนแนวทางมดแดงล้มช้าง ของ คณะราษฎรเสรีไทย กับ ดร. เพียงดิน 
ส่งข้อมูลลับผ่านช่องทางที่ปลอดภัยทางลิ้ง?¸




เอียวศรีวงศ์ : ประชาธิปไตยแบบไทย

เอียวศรีวงศ์ : ประชาธิปไตยแบบไทย
วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เวลา 07:01:24 น.

ในที่สุดก็ถึงเวลาต้องร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่คณะกรรมาธิการร่างก็ตั้งกันมาสำเร็จสมบูรณ์แล้ว ในขณะเดียวกันก็มีเสียงหนาหูจากกรรมาธิการบางคนว่า จะต้องกำหนดโน่นนี่ในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ล้วนฟังดูน่าอัศจรรย์พันลึกว่า หากคิดอย่างนี้ จะเข้าไปร่างรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยได้อย่างไร

ท่านหัวหน้า คสช. แม้ไม่ได้มีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญโดยตรง แต่ก็มีอำนาจที่จะกำหนดรูปร่างหน้าตาของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้มาก ได้ปรารภกรอบของรัฐธรรมนูญใหม่ไว้ในคำปราศรัยเรื่องสิทธิเสรีภาพว่า "ประชาธิปไตยไทยนั้น ถ้าสอนให้คนรู้จักแต่สิทธิเสรีภาพ ไม่คำนึงถึงหน้าที่ ไม่รู้จักว่าผลประโยชน์แห่งชาติว่าอยู่ที่ไหน ก็ยังคงเป็นแบบนี้อยู่ต่อไป... อย่าสอนให้เสรีมากนัก คำว่าเสรีต้องมีขีดจำกัด อยู่ภายใต้กรอบกฎหมาย ไม่ทำให้คนอื่นเดือดร้อน ต้องรู้จักหน้าที่..."

ตรงกับที่ประธานคณะกรรมาธิการเคยให้สัมภาษณ์ว่า ทำไมต้องไปลอกเลียนประชาธิปไตยของคนอื่น เราก็ควรมีประชาธิปไตยแบบไทยของเราเอง

หน้าของประชาธิปไตยแบบไทยเริ่มโผล่มาให้เห็นได้รางๆแล้ว

ทั้ง"ประชาธิปไตยแบบไทย" และ "สิทธิเสรีภาพกับหน้าที่" เป็นคาถาที่นักปราชญ์ไทยพูดกันมานานแล้ว ผมคิดว่าท่านเหล่านั้นออกจะสับสนกับเรื่องสิทธิเสรีภาพของระบอบประชาธิปไตย ในขณะที่สับสนกับ "ประชาธิปไตย" อยู่มากทีเดียว

ก็จริงที่ว่าในความคิดของนักประชาธิปไตยตะวันตก ซึ่งนักร่างรัฐธรรมนูญไทยรังเกียจนั้น เขาคิดแต่ด้านเสรีภาพและขีดจำกัดของเสรีภาพ บุคคลพึงมีเสรีภาพอย่างไม่มีขีดจำกัดก็จริง แต่เสรีภาพของบุคคลนั้นอยู่ลอยๆ ไม่ได้ (มิฉะนั้นก็กลายเป็นเสรีภาพของซ่องโจร) ต้องตั้งอยู่บนเสรีภาพของสังคมซึ่งประกันเสรีภาพของบุคคลอีกทีหนึ่ง ดังนั้น การใช้เสรีภาพจึงมีขีดจำกัดที่การใช้จะไปละเมิดเสรีภาพของคนอื่นไม่ได้ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ เสรีภาพของสังคมเป็นบรรทัดฐานที่เราต้องรักษาไว้ เพราะเสรีภาพของเราเองจะมีไม่ได้ หากเสรีภาพของสังคมถูกทำลายลงไป บุคคลจึงพึงเดือดร้อนเมื่อบุคคลอื่นถูกละเมิดเสรีภาพ เพราะย่อมกระเทือนต่อเสรีภาพของสังคม อันจะทำให้เสรีภาพของเราเองถูกคุกคามไปด้วย

คิดแต่ด้านเสรีภาพโดยไม่ต้องคิดด้านหน้าที่เลยก็ได้ เพราะในตัวของเสรีภาพล้วนๆ นี้ มีขีดจำกัดของเสรีภาพอยู่ด้วยแล้ว นั่นคือเสรีภาพของสังคม ซึ่งต้องผดุงรักษาไว้เหนืออื่นใด

หน้าที่ก็มีความสำคัญเหมือนกัน แต่กำหนดลงไว้ในกฎหมายได้ยาก เพราะฝรั่งคิดว่าหน้าที่นั้นเป็นสำนึก หากแปลภาษาไทยให้ตรง หน้าที่คือธรรมะ เช่น พลเมืองต้องเสียภาษีรายได้ แต่จะเสียเต็มเม็ดเต็มหน่วยหรือไม่ เป็นสำนึก ถึงกฎหมายกำหนดไว้อย่างไรก็มีช่องให้หลีกเลี่ยงจนได้ ดังนั้น รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยจึงไม่ต้องพูดถึงหน้าที่ พูดแต่เรื่องของสิทธิเสรีภาพ

ผมคิดว่าเรื่องนี้มีความสำคัญ เพราะหากเอาหน้าที่มาถ่วงดุลเสรีภาพแล้ว เสรีภาพก็ไร้ความหมาย เพราะรัฐอาจมอบหมายหน้าที่ซึ่งทำลายเสรีภาพของสังคมให้แก่พลเมืองทุกคนต้องปฏิบัติ เช่น แจ้งความเคลื่อนไหวของปฏิปักษ์ทางการเมืองของผู้บริหารรัฐ ความสับสนเรื่องนี้ของนักปราชญ์ไทยจะเกิดโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม แต่หากอยากได้รัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยจริง ต้องไม่สับสนตาม "ผู้ใหญ่" ไทย

จะพูดถึงประชาธิปไตยแบบไทยก็ได้เพราะมันน่าจะมีอยู่จริง เช่นเดียวกับประชาธิปไตยแบบฝรั่งเศส, แบบอังกฤษ, แบบอเมริกัน หรือแบบเยอรมนี ซึ่งไม่เหมือนกันเลย มีลักษณะเฉพาะที่เหมาะกับสังคมวัฒนธรรมนั้นๆ (ตามสำนวนของรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว) หรือเป็นไปตามประสบการณ์ของแต่ละสังคมซึ่งไม่เหมือนกัน ไม่มีใครคิดจะก๊อบปี้กระบวนการประชาธิปไตยของกันและกัน

แต่ต้องแยกให้ชัดระหว่างบรรทัดฐานหรือเป้าหมายของประชาธิปไตยกับกระบวนการประชาธิปไตยกระบวนการอาจปรับเปลี่ยนอย่างไรก็ได้ให้เหมาะกับประสบการณ์ของแต่ละสังคมแต่บรรทัดฐานหรือเป้าหมายของประชาธิปไตยนั้นตรงกัน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนกระบวนการก็มีขีดจำกัด คือจะปรับเปลี่ยนอย่างไรก็ตาม แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับบรรทัดฐาน หรือทำให้บรรทัดฐานนั้นเป็นหมันไปโดยปริยาย

ผมจึงอยากพูดถึงบรรทัดฐานของประชาธิปไตยว่า อาจบรรลุได้ด้วยกระบวนการอย่างไรเป็นตัวอย่าง และกระบวนการชนิดไหนในแต่ละด้านที่ทำลายบรรทัดฐานไปโดยปริยาย



ประชาธิปไตยนั้นเป็นระบอบปกครองของรัฐสมัยใหม่โดยแท้โดยเฉพาะรัฐที่ได้กลายเป็นรัฐประชาชาติไปแล้วรัฐสมัยใหม่เป็นรัฐที่มีอำนาจล้นพ้น อาจทำร้ายประชาชนหรือพลเมืองของตนได้อย่างที่รัฐก่อนสมัยใหม่ทั้งปวงไม่สามารถทำได้ รัฐจึงเป็นสิ่งที่ต้องพึงระวัง ต้องถูกจำกัดอำนาจของมันไว้ ที่ผมพูดนี้หมายถึงรัฐนะครับ ไม่ได้หมายถึงผู้ปกครองรัฐซึ่งย่อมเวียนหน้ากันเข้ามาอยู่เสมอ

กระบวนการที่ใช้ในการควบคุมรัฐในระบอบประชาธิปไตยคือสถาปนาสิทธิเสรีภาพของพลเมืองให้เป็นสิ่งสูงสุด ที่รัฐไม่ว่าจะปกครองโดยใครล่วงละเมิดไม่ได้ เช่น เสรีภาพในการแสดงออก, ในความเชื่อ, ในการรวมตัวเพื่อเป้าหมายทางเศรษฐกิจ, การเมือง, สังคมหรือวัฒนธรรม และในเรื่องอื่นๆ (อย่าลืมเรื่องเสรีภาพของสังคมซึ่งเป็นขีดจำกัดของเสรีภาพนะครับ) 

ในเมืองไทย เรามักคิดว่าสิทธิเสรีภาพเป็นธรรมชาติมนุษย์ ขวางกั้นไม่ได้ หรือขวางกั้นแล้วย่อมทำให้คนไม่พอใจ ข้อนี้จริงหรือไม่คงเถียงกันได้ แต่ที่สำคัญกว่าในระบอบประชาธิปไตยก็คือ สิทธิเสรีภาพเป็นตัวจำกัดอำนาจของรัฐที่เมื่อไรถูกล่วงละเมิด เมื่อนั้นเราทุกคนต่างก็ปลดเปลื้องตัวเองจากแนวป้องกันอำนาจรัฐที่แข็งแกร่งที่สุด กรณีเช่น ตากใบหรือกรือเซะ ทำให้เราทุกคนแม้อยู่ห่างไกลจากเหตุการณ์เพียงไรก็ตาม ต่างตกอยู่ในภยันตรายใหญ่หลวงจากรัฐเท่าๆ กัน

หากถามว่า มีข้อยกเว้นหรือไม่ที่บางครั้งรัฐจำเป็นต้องละเมิดสิทธิเสรีภาพของพลเมืองซึ่งสถาปนาขึ้นไว้แล้วนี้ คำตอบคือไม่มี หรือเกือบจะไม่มีเลย ถึงอาจเกิดขึ้นในรัฐประชาธิปไตยบางแห่งก็ต้องจำกัดอำนาจรัฐในการละเมิดไว้อย่างรัดกุม เช่น ระยะเวลาที่จะละเมิดได้มีจำกัด, กระบวนการละเมิดต้องถูกตรวจสอบถ่วงดุลจากหลายฝ่าย ฯลฯ 

ผมขอยกตัวอย่าง เช่น กฎอัยการศึก ในประชาธิปไตยของบางประเทศ ไม่มีกฎหมายประเภทนี้เลย ในบางประเทศ การตัดสินใจต้องขึ้นอยู่กับองค์กรทางการเมืองที่หลากหลายมาก เช่น รวมแม้แต่พรรคฝ่ายค้านด้วย ในทุกประเทศ หากจำเป็นต้องใช้กฎหมายประเภทนี้ อำนาจรัฐที่จะล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพของพลเมืองจะถูกกำหนดไว้แน่นอนชัดเจนว่า ทำได้เฉพาะในเรื่องใดและในกรณีจำเป็นอย่างไร ไม่ใช่การชูสามนิ้ว, การกินแซนด์วิช, การอ่านหนังสือ ฯลฯ จะถูกลงโทษไปหมด โดยไม่มีกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนแน่นอนมากไปกว่ากฎอัยการศึก

ก็อย่างที่กล่าวแล้วนะครับว่า นี่เป็นเรื่องกระบวนการ ซึ่งแต่ละสังคมอาจปรับเปลี่ยนไปได้บ้าง แต่ต้องไม่ทำให้บรรทัดฐานสิทธิเสรีภาพของพลเมืองซึ่งประชาธิปไตยต้องยืนหยัดเพื่อป้องกันรัฐกลายเป็นหมัน

ระบอบประชาธิปไตยต้องแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยของปวงชนออกจากกันเป็นสามด้านคือนิติบัญญัติ, บริหาร และตุลาการ เพื่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลกันเอง แต่ทั้งสามด้านนี้ต้องยึดโยงกับพลเมือง กระบวนการที่จะแบ่งแยกอำนาจนั้นมีได้หลายอย่าง เช่น บางประเทศกำหนดให้การแต่งตั้งผู้พิพากษาต้องได้รับคำรับรองจากรัฐสภา บางประเทศ (เช่น บางมลรัฐของสหรัฐ) ผู้พิพากษามาจากการเลือกตั้งของประชาชน โดยกำหนดวุฒิของผู้สมัคร บางสังคมประชาธิปไตยสร้างกลไกที่ทำให้คนภายนอกที่ได้รับมอบหมายจากพลเมือง ให้เข้ามาตรวจสอบการทำงานของฝ่ายตุลาการได้ บางประเทศให้อำนาจพลเมืองในการถอดถอน ส.ส.ระหว่างวาระได้ จะยึดโยงกับพลเมืองอย่างไร เป็นกระบวนการซึ่งอาจปรับเปลี่ยนได้ แต่ต้องไม่ใช่ให้ผู้ทรงคุณวุฒิปิดประตูเลือกกันเอง หรือปล่อยให้ฝ่ายบริหารแต่งตั้งสภานิติบัญญัติและองค์คณะผู้ตรวจสอบฝ่ายตุลาการเอง

แท้จริงแล้ว การยึดโยงกับพลเมืองของอำนาจอธิปไตยทั้งสามนั้น ประกันการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยที่ขาดไม่ได้ด้วยซ้ำ เพราะเป็นไปไม่ได้ในรัฐสมัยใหม่ที่พลเมืองจำนวนเป็นล้านจะซูเอี๋ยกันเอง ในขณะที่อำนาจที่ไม่ยึดโยงกับประชาชนซึ่งมีคนจำนวนน้อยเสียอีก ที่ซูเอี๋ยกันเองจนอำนาจอธิปไตยทั้งสามด้านไม่แยกออกจากกันจริง อย่างที่เราเห็นในเมืองไทยในไม่กี่ปีที่ผ่านมา

เรื่องนี้เกี่ยวกับบรรทัดฐานประชาธิปไตยอีกอย่างหนึ่งนั่นคืออำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน หรือพูดง่ายๆ ก็คือ พลเมืองมีอำนาจสูงสุดในรัฐ ข้อนี้ต้องเป็นจริงในทางปฏิบัติ ไม่ใช่ตราไว้ในรัฐธรรมนูญเฉยๆ แต่มาตราอื่นๆ ล้วนสะท้อนว่าไม่จริง



กระบวนการของบรรทัดฐานนี้ก็คือ ทำอย่างไรให้พลเมืองควบคุมการใช้อำนาจอธิปไตยของตนได้จริง รัฐสมัยใหม่ซึ่งมีพลเมืองจำนวนมากเลือกใช้การเลือกตั้งทางตรง โดยเฉพาะกับสภานิติบัญญัติ เพราะไม่สามารถประชุมพลเมืองพร้อมกันทั้งประเทศได้ การเลือกตั้งเป็นกระบวนการทำได้หลายวิธี แต่ต้องไม่ทำให้เจตน์จำนงทางการเมืองของพลเมืองไร้ความหมาย การเลือกตัวแทนเป็นมาตรการที่มีปัญหาแน่ ไม่เฉพาะแต่ในประเทศไทย แต่ในทุกประเทศ อย่างไรก็ตาม สามารถปรับได้แก้ได้ และเขาก็ปรับแก้กันทั้งโลกอยู่ในเวลานี้ รวมทั้งยังอาจต้องถูกปรับเปลี่ยนไปอีกมากเมื่อเทคโนโลยีดิจิตอลขยายตัวและพัฒนาไปมากขึ้นกว่านี้ จนกระทั่งการลงประชามติอาจทำได้ในราคาถูกและสะดวก บทบาทของตัวแทนในสภาอาจลดความสำคัญลงกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการอื่นๆ ที่สังคมประชาธิปไตยมักใช้เพื่อถ่วงดุล "ตัวแทน" ซึ่งไม่สมบูรณ์เวลานี้ เช่น ประกันอำนาจของท้องถิ่นในบางเรื่องเพื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ไม่ได้หมายถึง อบต., เทศบาล, อบจ.เพียงอย่างเดียว แต่ต้องรวมสภาของท้องถิ่นและองค์กรเอกชนในท้องถิ่นไว้ด้วย) สามารถตัดสินใจได้เองอย่างเป็นอิสระ การประกันสิทธิเสรีภาพของสื่อ, การสื่อสาร, การจัดองค์กร, การเคลื่อนไหวสาธารณะทุกชนิด, การเข้าถึงองค์กรของรัฐอย่างเท่าเทียม ฯลฯ อันเป็นสิทธิพลเมือง ก็มีส่วนในการทำให้ระบบ "ตัวแทน" มีอำนาจน้อยลง

แน่นอนว่าเสรีภาพของสังคมย่อมมีความสำคัญกว่า จึงต้องมีกฎหมายควบคุมการใช้เสรีภาพเหล่านี้ด้วย แต่กฎหมายประเภทนี้ต้องออกมาเพื่อปกป้องเสรีภาพของสังคม ไม่ใช่ออกมาเพื่อเพิ่มอำนาจรัฐหรืออำนาจข้าราชการ เช่น เสรีภาพในการสื่อสารย่อมกลายเป็นความไม่มีเสรีภาพ หากยังใช้กฎหมายคอมพิวเตอร์ที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน กฎหมายหมิ่นประมาทและกระบวนการยุติธรรมทำให้การตรวจสอบถ่วงดุลทุนขนาดใหญ่ในประเทศไทยเกือบจะเป็นไปไม่ได้เอาเลย

บรรทัดฐานประชาธิปไตยไม่ได้ทำให้เราไม่สามารถปรับแก้กระบวนการได้ตัวของมันเองได้ปรับแก้ตนเองมาโดยตลอดภายใต้บรรทัดฐานเดิมไม่มีความจำเป็นแต่อย่างไรที่จะระงับใช้บรรทัดฐานประชาธิปไตยเพื่อปรับแก้ประชาธิปไตย อันเป็นตรรกะที่ไม่มีแววเลยว่าจะนำเรากลับสู่บรรทัดฐานประชาธิปไตยได้อีก

ผมคงสามารถพูดถึงบรรทัดฐานของประชาธิปไตยซึ่งขาดไม่ได้(หากยังอยากเรียกตัวเองว่าประชาธิปไตยอยู่)กับกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งอาจปรับเปลี่ยนไปได้ตามความเหมาะสมของประสบการณ์ของสังคมไทยได้อีกมาก แต่คิดว่าพอแล้วสำหรับการทำความเข้าใจหลักการข้อนี้ ประชาธิปไตยแบบไทยจึงอาจเป็นจริงได้ แต่หากไม่แยกระหว่างบรรทัดฐานและกระบวนการให้ชัดในการร่างรัฐธรรมนูญ ก็จะปรับเปลี่ยนกระบวนการจนสูญเสียบรรทัดฐานประชาธิปไตยไป และในกรณีเช่นนั้น ชื่อที่ตรงกว่าคือเผด็จการแบบไทย ไม่ใช่ประชาธิปไตยแบบไทย

ปัญหาของรัฐธรรมนูญใหม่อยู่ตรงนี้มากกว่าบอดสีหรือมีสี เพราะสีย่อมเกิดขึ้นได้ก็เฉพาะแต่เมื่อระบอบปกครองนั้นยังอยู่ในบรรทัดฐานของประชาธิปไตยเท่านั้น โดยตัวของมันเองไม่ใช่สิ่งที่น่ารังเกียจแต่อย่างใด 

สิ่งที่น่ารังเกียจกว่าคือการมองไม่เห็นว่าอะไรคือปัญหาของประเทศกันแน่ และการเอาปัญหาผิดๆ เหล่านั้นเป็นตัวตั้งเพื่อปรับแก้รัฐธรรมนูญจนละทิ้งบรรทัดฐานของประชาธิปไตย เพราะแยกไม่ออก (หรือไม่ยอมแยก) ระหว่างสิ่งที่เป็นบรรทัดฐานกับกระบวนการ ดังข้อเสนอพิลึกพิลั่นนานาชนิดที่ได้ยินอยู่เสมอจาก สปช., สนช., ที่ปรึกษา คสช. และ คสช.เองในช่วงนี้

เอียวศรีวงศ์ : ประชาธิปไตยแบบไทย

เอียวศรีวงศ์ : ประชาธิปไตยแบบไทย
วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เวลา 07:01:24 น.

ในที่สุดก็ถึงเวลาต้องร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่คณะกรรมาธิการร่างก็ตั้งกันมาสำเร็จสมบูรณ์แล้ว ในขณะเดียวกันก็มีเสียงหนาหูจากกรรมาธิการบางคนว่า จะต้องกำหนดโน่นนี่ในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ล้วนฟังดูน่าอัศจรรย์พันลึกว่า หากคิดอย่างนี้ จะเข้าไปร่างรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยได้อย่างไร

ท่านหัวหน้า คสช. แม้ไม่ได้มีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญโดยตรง แต่ก็มีอำนาจที่จะกำหนดรูปร่างหน้าตาของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้มาก ได้ปรารภกรอบของรัฐธรรมนูญใหม่ไว้ในคำปราศรัยเรื่องสิทธิเสรีภาพว่า "ประชาธิปไตยไทยนั้น ถ้าสอนให้คนรู้จักแต่สิทธิเสรีภาพ ไม่คำนึงถึงหน้าที่ ไม่รู้จักว่าผลประโยชน์แห่งชาติว่าอยู่ที่ไหน ก็ยังคงเป็นแบบนี้อยู่ต่อไป... อย่าสอนให้เสรีมากนัก คำว่าเสรีต้องมีขีดจำกัด อยู่ภายใต้กรอบกฎหมาย ไม่ทำให้คนอื่นเดือดร้อน ต้องรู้จักหน้าที่..."

ตรงกับที่ประธานคณะกรรมาธิการเคยให้สัมภาษณ์ว่า ทำไมต้องไปลอกเลียนประชาธิปไตยของคนอื่น เราก็ควรมีประชาธิปไตยแบบไทยของเราเอง

หน้าของประชาธิปไตยแบบไทยเริ่มโผล่มาให้เห็นได้รางๆแล้ว

ทั้ง"ประชาธิปไตยแบบไทย" และ "สิทธิเสรีภาพกับหน้าที่" เป็นคาถาที่นักปราชญ์ไทยพูดกันมานานแล้ว ผมคิดว่าท่านเหล่านั้นออกจะสับสนกับเรื่องสิทธิเสรีภาพของระบอบประชาธิปไตย ในขณะที่สับสนกับ "ประชาธิปไตย" อยู่มากทีเดียว

ก็จริงที่ว่าในความคิดของนักประชาธิปไตยตะวันตก ซึ่งนักร่างรัฐธรรมนูญไทยรังเกียจนั้น เขาคิดแต่ด้านเสรีภาพและขีดจำกัดของเสรีภาพ บุคคลพึงมีเสรีภาพอย่างไม่มีขีดจำกัดก็จริง แต่เสรีภาพของบุคคลนั้นอยู่ลอยๆ ไม่ได้ (มิฉะนั้นก็กลายเป็นเสรีภาพของซ่องโจร) ต้องตั้งอยู่บนเสรีภาพของสังคมซึ่งประกันเสรีภาพของบุคคลอีกทีหนึ่ง ดังนั้น การใช้เสรีภาพจึงมีขีดจำกัดที่การใช้จะไปละเมิดเสรีภาพของคนอื่นไม่ได้ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ เสรีภาพของสังคมเป็นบรรทัดฐานที่เราต้องรักษาไว้ เพราะเสรีภาพของเราเองจะมีไม่ได้ หากเสรีภาพของสังคมถูกทำลายลงไป บุคคลจึงพึงเดือดร้อนเมื่อบุคคลอื่นถูกละเมิดเสรีภาพ เพราะย่อมกระเทือนต่อเสรีภาพของสังคม อันจะทำให้เสรีภาพของเราเองถูกคุกคามไปด้วย

คิดแต่ด้านเสรีภาพโดยไม่ต้องคิดด้านหน้าที่เลยก็ได้ เพราะในตัวของเสรีภาพล้วนๆ นี้ มีขีดจำกัดของเสรีภาพอยู่ด้วยแล้ว นั่นคือเสรีภาพของสังคม ซึ่งต้องผดุงรักษาไว้เหนืออื่นใด

หน้าที่ก็มีความสำคัญเหมือนกัน แต่กำหนดลงไว้ในกฎหมายได้ยาก เพราะฝรั่งคิดว่าหน้าที่นั้นเป็นสำนึก หากแปลภาษาไทยให้ตรง หน้าที่คือธรรมะ เช่น พลเมืองต้องเสียภาษีรายได้ แต่จะเสียเต็มเม็ดเต็มหน่วยหรือไม่ เป็นสำนึก ถึงกฎหมายกำหนดไว้อย่างไรก็มีช่องให้หลีกเลี่ยงจนได้ ดังนั้น รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยจึงไม่ต้องพูดถึงหน้าที่ พูดแต่เรื่องของสิทธิเสรีภาพ

ผมคิดว่าเรื่องนี้มีความสำคัญ เพราะหากเอาหน้าที่มาถ่วงดุลเสรีภาพแล้ว เสรีภาพก็ไร้ความหมาย เพราะรัฐอาจมอบหมายหน้าที่ซึ่งทำลายเสรีภาพของสังคมให้แก่พลเมืองทุกคนต้องปฏิบัติ เช่น แจ้งความเคลื่อนไหวของปฏิปักษ์ทางการเมืองของผู้บริหารรัฐ ความสับสนเรื่องนี้ของนักปราชญ์ไทยจะเกิดโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม แต่หากอยากได้รัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยจริง ต้องไม่สับสนตาม "ผู้ใหญ่" ไทย

จะพูดถึงประชาธิปไตยแบบไทยก็ได้เพราะมันน่าจะมีอยู่จริง เช่นเดียวกับประชาธิปไตยแบบฝรั่งเศส, แบบอังกฤษ, แบบอเมริกัน หรือแบบเยอรมนี ซึ่งไม่เหมือนกันเลย มีลักษณะเฉพาะที่เหมาะกับสังคมวัฒนธรรมนั้นๆ (ตามสำนวนของรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว) หรือเป็นไปตามประสบการณ์ของแต่ละสังคมซึ่งไม่เหมือนกัน ไม่มีใครคิดจะก๊อบปี้กระบวนการประชาธิปไตยของกันและกัน

แต่ต้องแยกให้ชัดระหว่างบรรทัดฐานหรือเป้าหมายของประชาธิปไตยกับกระบวนการประชาธิปไตยกระบวนการอาจปรับเปลี่ยนอย่างไรก็ได้ให้เหมาะกับประสบการณ์ของแต่ละสังคมแต่บรรทัดฐานหรือเป้าหมายของประชาธิปไตยนั้นตรงกัน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนกระบวนการก็มีขีดจำกัด คือจะปรับเปลี่ยนอย่างไรก็ตาม แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับบรรทัดฐาน หรือทำให้บรรทัดฐานนั้นเป็นหมันไปโดยปริยาย

ผมจึงอยากพูดถึงบรรทัดฐานของประชาธิปไตยว่า อาจบรรลุได้ด้วยกระบวนการอย่างไรเป็นตัวอย่าง และกระบวนการชนิดไหนในแต่ละด้านที่ทำลายบรรทัดฐานไปโดยปริยาย



ประชาธิปไตยนั้นเป็นระบอบปกครองของรัฐสมัยใหม่โดยแท้โดยเฉพาะรัฐที่ได้กลายเป็นรัฐประชาชาติไปแล้วรัฐสมัยใหม่เป็นรัฐที่มีอำนาจล้นพ้น อาจทำร้ายประชาชนหรือพลเมืองของตนได้อย่างที่รัฐก่อนสมัยใหม่ทั้งปวงไม่สามารถทำได้ รัฐจึงเป็นสิ่งที่ต้องพึงระวัง ต้องถูกจำกัดอำนาจของมันไว้ ที่ผมพูดนี้หมายถึงรัฐนะครับ ไม่ได้หมายถึงผู้ปกครองรัฐซึ่งย่อมเวียนหน้ากันเข้ามาอยู่เสมอ

กระบวนการที่ใช้ในการควบคุมรัฐในระบอบประชาธิปไตยคือสถาปนาสิทธิเสรีภาพของพลเมืองให้เป็นสิ่งสูงสุด ที่รัฐไม่ว่าจะปกครองโดยใครล่วงละเมิดไม่ได้ เช่น เสรีภาพในการแสดงออก, ในความเชื่อ, ในการรวมตัวเพื่อเป้าหมายทางเศรษฐกิจ, การเมือง, สังคมหรือวัฒนธรรม และในเรื่องอื่นๆ (อย่าลืมเรื่องเสรีภาพของสังคมซึ่งเป็นขีดจำกัดของเสรีภาพนะครับ) 

ในเมืองไทย เรามักคิดว่าสิทธิเสรีภาพเป็นธรรมชาติมนุษย์ ขวางกั้นไม่ได้ หรือขวางกั้นแล้วย่อมทำให้คนไม่พอใจ ข้อนี้จริงหรือไม่คงเถียงกันได้ แต่ที่สำคัญกว่าในระบอบประชาธิปไตยก็คือ สิทธิเสรีภาพเป็นตัวจำกัดอำนาจของรัฐที่เมื่อไรถูกล่วงละเมิด เมื่อนั้นเราทุกคนต่างก็ปลดเปลื้องตัวเองจากแนวป้องกันอำนาจรัฐที่แข็งแกร่งที่สุด กรณีเช่น ตากใบหรือกรือเซะ ทำให้เราทุกคนแม้อยู่ห่างไกลจากเหตุการณ์เพียงไรก็ตาม ต่างตกอยู่ในภยันตรายใหญ่หลวงจากรัฐเท่าๆ กัน

หากถามว่า มีข้อยกเว้นหรือไม่ที่บางครั้งรัฐจำเป็นต้องละเมิดสิทธิเสรีภาพของพลเมืองซึ่งสถาปนาขึ้นไว้แล้วนี้ คำตอบคือไม่มี หรือเกือบจะไม่มีเลย ถึงอาจเกิดขึ้นในรัฐประชาธิปไตยบางแห่งก็ต้องจำกัดอำนาจรัฐในการละเมิดไว้อย่างรัดกุม เช่น ระยะเวลาที่จะละเมิดได้มีจำกัด, กระบวนการละเมิดต้องถูกตรวจสอบถ่วงดุลจากหลายฝ่าย ฯลฯ 

ผมขอยกตัวอย่าง เช่น กฎอัยการศึก ในประชาธิปไตยของบางประเทศ ไม่มีกฎหมายประเภทนี้เลย ในบางประเทศ การตัดสินใจต้องขึ้นอยู่กับองค์กรทางการเมืองที่หลากหลายมาก เช่น รวมแม้แต่พรรคฝ่ายค้านด้วย ในทุกประเทศ หากจำเป็นต้องใช้กฎหมายประเภทนี้ อำนาจรัฐที่จะล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพของพลเมืองจะถูกกำหนดไว้แน่นอนชัดเจนว่า ทำได้เฉพาะในเรื่องใดและในกรณีจำเป็นอย่างไร ไม่ใช่การชูสามนิ้ว, การกินแซนด์วิช, การอ่านหนังสือ ฯลฯ จะถูกลงโทษไปหมด โดยไม่มีกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนแน่นอนมากไปกว่ากฎอัยการศึก

ก็อย่างที่กล่าวแล้วนะครับว่า นี่เป็นเรื่องกระบวนการ ซึ่งแต่ละสังคมอาจปรับเปลี่ยนไปได้บ้าง แต่ต้องไม่ทำให้บรรทัดฐานสิทธิเสรีภาพของพลเมืองซึ่งประชาธิปไตยต้องยืนหยัดเพื่อป้องกันรัฐกลายเป็นหมัน

ระบอบประชาธิปไตยต้องแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยของปวงชนออกจากกันเป็นสามด้านคือนิติบัญญัติ, บริหาร และตุลาการ เพื่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลกันเอง แต่ทั้งสามด้านนี้ต้องยึดโยงกับพลเมือง กระบวนการที่จะแบ่งแยกอำนาจนั้นมีได้หลายอย่าง เช่น บางประเทศกำหนดให้การแต่งตั้งผู้พิพากษาต้องได้รับคำรับรองจากรัฐสภา บางประเทศ (เช่น บางมลรัฐของสหรัฐ) ผู้พิพากษามาจากการเลือกตั้งของประชาชน โดยกำหนดวุฒิของผู้สมัคร บางสังคมประชาธิปไตยสร้างกลไกที่ทำให้คนภายนอกที่ได้รับมอบหมายจากพลเมือง ให้เข้ามาตรวจสอบการทำงานของฝ่ายตุลาการได้ บางประเทศให้อำนาจพลเมืองในการถอดถอน ส.ส.ระหว่างวาระได้ จะยึดโยงกับพลเมืองอย่างไร เป็นกระบวนการซึ่งอาจปรับเปลี่ยนได้ แต่ต้องไม่ใช่ให้ผู้ทรงคุณวุฒิปิดประตูเลือกกันเอง หรือปล่อยให้ฝ่ายบริหารแต่งตั้งสภานิติบัญญัติและองค์คณะผู้ตรวจสอบฝ่ายตุลาการเอง

แท้จริงแล้ว การยึดโยงกับพลเมืองของอำนาจอธิปไตยทั้งสามนั้น ประกันการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยที่ขาดไม่ได้ด้วยซ้ำ เพราะเป็นไปไม่ได้ในรัฐสมัยใหม่ที่พลเมืองจำนวนเป็นล้านจะซูเอี๋ยกันเอง ในขณะที่อำนาจที่ไม่ยึดโยงกับประชาชนซึ่งมีคนจำนวนน้อยเสียอีก ที่ซูเอี๋ยกันเองจนอำนาจอธิปไตยทั้งสามด้านไม่แยกออกจากกันจริง อย่างที่เราเห็นในเมืองไทยในไม่กี่ปีที่ผ่านมา

เรื่องนี้เกี่ยวกับบรรทัดฐานประชาธิปไตยอีกอย่างหนึ่งนั่นคืออำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน หรือพูดง่ายๆ ก็คือ พลเมืองมีอำนาจสูงสุดในรัฐ ข้อนี้ต้องเป็นจริงในทางปฏิบัติ ไม่ใช่ตราไว้ในรัฐธรรมนูญเฉยๆ แต่มาตราอื่นๆ ล้วนสะท้อนว่าไม่จริง



กระบวนการของบรรทัดฐานนี้ก็คือ ทำอย่างไรให้พลเมืองควบคุมการใช้อำนาจอธิปไตยของตนได้จริง รัฐสมัยใหม่ซึ่งมีพลเมืองจำนวนมากเลือกใช้การเลือกตั้งทางตรง โดยเฉพาะกับสภานิติบัญญัติ เพราะไม่สามารถประชุมพลเมืองพร้อมกันทั้งประเทศได้ การเลือกตั้งเป็นกระบวนการทำได้หลายวิธี แต่ต้องไม่ทำให้เจตน์จำนงทางการเมืองของพลเมืองไร้ความหมาย การเลือกตัวแทนเป็นมาตรการที่มีปัญหาแน่ ไม่เฉพาะแต่ในประเทศไทย แต่ในทุกประเทศ อย่างไรก็ตาม สามารถปรับได้แก้ได้ และเขาก็ปรับแก้กันทั้งโลกอยู่ในเวลานี้ รวมทั้งยังอาจต้องถูกปรับเปลี่ยนไปอีกมากเมื่อเทคโนโลยีดิจิตอลขยายตัวและพัฒนาไปมากขึ้นกว่านี้ จนกระทั่งการลงประชามติอาจทำได้ในราคาถูกและสะดวก บทบาทของตัวแทนในสภาอาจลดความสำคัญลงกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการอื่นๆ ที่สังคมประชาธิปไตยมักใช้เพื่อถ่วงดุล "ตัวแทน" ซึ่งไม่สมบูรณ์เวลานี้ เช่น ประกันอำนาจของท้องถิ่นในบางเรื่องเพื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ไม่ได้หมายถึง อบต., เทศบาล, อบจ.เพียงอย่างเดียว แต่ต้องรวมสภาของท้องถิ่นและองค์กรเอกชนในท้องถิ่นไว้ด้วย) สามารถตัดสินใจได้เองอย่างเป็นอิสระ การประกันสิทธิเสรีภาพของสื่อ, การสื่อสาร, การจัดองค์กร, การเคลื่อนไหวสาธารณะทุกชนิด, การเข้าถึงองค์กรของรัฐอย่างเท่าเทียม ฯลฯ อันเป็นสิทธิพลเมือง ก็มีส่วนในการทำให้ระบบ "ตัวแทน" มีอำนาจน้อยลง

แน่นอนว่าเสรีภาพของสังคมย่อมมีความสำคัญกว่า จึงต้องมีกฎหมายควบคุมการใช้เสรีภาพเหล่านี้ด้วย แต่กฎหมายประเภทนี้ต้องออกมาเพื่อปกป้องเสรีภาพของสังคม ไม่ใช่ออกมาเพื่อเพิ่มอำนาจรัฐหรืออำนาจข้าราชการ เช่น เสรีภาพในการสื่อสารย่อมกลายเป็นความไม่มีเสรีภาพ หากยังใช้กฎหมายคอมพิวเตอร์ที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน กฎหมายหมิ่นประมาทและกระบวนการยุติธรรมทำให้การตรวจสอบถ่วงดุลทุนขนาดใหญ่ในประเทศไทยเกือบจะเป็นไปไม่ได้เอาเลย

บรรทัดฐานประชาธิปไตยไม่ได้ทำให้เราไม่สามารถปรับแก้กระบวนการได้ตัวของมันเองได้ปรับแก้ตนเองมาโดยตลอดภายใต้บรรทัดฐานเดิมไม่มีความจำเป็นแต่อย่างไรที่จะระงับใช้บรรทัดฐานประชาธิปไตยเพื่อปรับแก้ประชาธิปไตย อันเป็นตรรกะที่ไม่มีแววเลยว่าจะนำเรากลับสู่บรรทัดฐานประชาธิปไตยได้อีก

ผมคงสามารถพูดถึงบรรทัดฐานของประชาธิปไตยซึ่งขาดไม่ได้(หากยังอยากเรียกตัวเองว่าประชาธิปไตยอยู่)กับกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งอาจปรับเปลี่ยนไปได้ตามความเหมาะสมของประสบการณ์ของสังคมไทยได้อีกมาก แต่คิดว่าพอแล้วสำหรับการทำความเข้าใจหลักการข้อนี้ ประชาธิปไตยแบบไทยจึงอาจเป็นจริงได้ แต่หากไม่แยกระหว่างบรรทัดฐานและกระบวนการให้ชัดในการร่างรัฐธรรมนูญ ก็จะปรับเปลี่ยนกระบวนการจนสูญเสียบรรทัดฐานประชาธิปไตยไป และในกรณีเช่นนั้น ชื่อที่ตรงกว่าคือเผด็จการแบบไทย ไม่ใช่ประชาธิปไตยแบบไทย

ปัญหาของรัฐธรรมนูญใหม่อยู่ตรงนี้มากกว่าบอดสีหรือมีสี เพราะสีย่อมเกิดขึ้นได้ก็เฉพาะแต่เมื่อระบอบปกครองนั้นยังอยู่ในบรรทัดฐานของประชาธิปไตยเท่านั้น โดยตัวของมันเองไม่ใช่สิ่งที่น่ารังเกียจแต่อย่างใด 

สิ่งที่น่ารังเกียจกว่าคือการมองไม่เห็นว่าอะไรคือปัญหาของประเทศกันแน่ และการเอาปัญหาผิดๆ เหล่านั้นเป็นตัวตั้งเพื่อปรับแก้รัฐธรรมนูญจนละทิ้งบรรทัดฐานของประชาธิปไตย เพราะแยกไม่ออก (หรือไม่ยอมแยก) ระหว่างสิ่งที่เป็นบรรทัดฐานกับกระบวนการ ดังข้อเสนอพิลึกพิลั่นนานาชนิดที่ได้ยินอยู่เสมอจาก สปช., สนช., ที่ปรึกษา คสช. และ คสช.เองในช่วงนี้

ทรัพย์สิน ของกษัตริย์ คือ ทรัพย์สินของประชาชน......

ทรัพย์สิน ของกษัตริย์ คือ ทรัพย์สินของประชาชน..ระบอบกษัตริย์ จึงไม่ให้ ประชาชนตรวจสอบ และทรัพย์สินเหล่า นี้ นำเอาไป ฟอก หาผลประโยชน์ ต่อ ในธุรกิจ ใน-นอก ประเทศ ซึ่งใครจะตรวจสอบไม่ได้เลย..

ทรัพย์สินส่วนสัสฯ เริ่มต้นที่ได้มาจากการ ขูดรีด ยึดที่นา และเก็บภาษี อย่างแพง สืบทอดกันมา ตามระบอบของกษัตริย์ไทย และ ในปัจจุบัน ที่เห็นได้ชัด ราชวงศ์จักรี รับซอง จากการ ส่งส่วย ของบริษัตริย์ ใหญ่เพื่อผ่านทาง ของธุรกิจ นั้น ดังภาพ ที่เห็น ออกข่าวมีภาพ รับซองทุกคืน บริษัทไหน ที่ใช้คำว่า ถวายเงินเป็น ราชกุศล นั้นคือ บริษัท ส่งส่วย ให้ ระบอบ กษัตริย์ เอาไป พลาญใช้เงิน ไม่มาพัฒนา เหมือนดั่ง คำสร้างภาพ ของผู้ให้ ว่า ถวายเป็นพระราชกุศล

ความเห็นแก่ตัวของ ระบอบกษัตริย์ ที่เอาเปรียบ สร้างภาพ เป็นคนดี ขูดรีด กดขี่ ซ้ำยัง ส่งเสริม เหล่าบริวาร ข้าราช ให้ทำงาน ขูดรีด กดทับประชาชน ให้หาผลประโยชน์ แบ่งส่วน แล้ว ส่งเข้าวัง และพรางตนอยู่เบื้องหลัง เพื่อให้ตน ยังอยู่ในการเทิดทูน พอได้แล้วระบอบกษัตริย์!!
..........
แท้จริงแล้ว ทรัพย์สิน ทั้ง 3 อย่าง แค่แยกความหมาย เพื่อ สร้างความชอบธรรม ให้ระบอบกษัตริย์ แต่แท้จริง ทั้งหมด นี้ คือ เงิน และ ทรัพย์สินของประชาชน ทั้งหมด
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์" กับ "ทรัพย์สินราชวงศ์จักรี" กับ "ทรัพย์สินส่วนพระองค์ 



ทรัพย์สิน ของกษัตริย์ คือ ทรัพย์สินของประชาชน......

ทรัพย์สิน ของกษัตริย์ คือ ทรัพย์สินของประชาชน..ระบอบกษัตริย์ จึงไม่ให้ ประชาชนตรวจสอบ และทรัพย์สินเหล่า นี้ นำเอาไป ฟอก หาผลประโยชน์ ต่อ ในธุรกิจ ใน-นอก ประเทศ ซึ่งใครจะตรวจสอบไม่ได้เลย..

ทรัพย์สินส่วนสัสฯ เริ่มต้นที่ได้มาจากการ ขูดรีด ยึดที่นา และเก็บภาษี อย่างแพง สืบทอดกันมา ตามระบอบของกษัตริย์ไทย และ ในปัจจุบัน ที่เห็นได้ชัด ราชวงศ์จักรี รับซอง จากการ ส่งส่วย ของบริษัตริย์ ใหญ่เพื่อผ่านทาง ของธุรกิจ นั้น ดังภาพ ที่เห็น ออกข่าวมีภาพ รับซองทุกคืน บริษัทไหน ที่ใช้คำว่า ถวายเงินเป็น ราชกุศล นั้นคือ บริษัท ส่งส่วย ให้ ระบอบ กษัตริย์ เอาไป พลาญใช้เงิน ไม่มาพัฒนา เหมือนดั่ง คำสร้างภาพ ของผู้ให้ ว่า ถวายเป็นพระราชกุศล

ความเห็นแก่ตัวของ ระบอบกษัตริย์ ที่เอาเปรียบ สร้างภาพ เป็นคนดี ขูดรีด กดขี่ ซ้ำยัง ส่งเสริม เหล่าบริวาร ข้าราช ให้ทำงาน ขูดรีด กดทับประชาชน ให้หาผลประโยชน์ แบ่งส่วน แล้ว ส่งเข้าวัง และพรางตนอยู่เบื้องหลัง เพื่อให้ตน ยังอยู่ในการเทิดทูน พอได้แล้วระบอบกษัตริย์!!
..........
แท้จริงแล้ว ทรัพย์สิน ทั้ง 3 อย่าง แค่แยกความหมาย เพื่อ สร้างความชอบธรรม ให้ระบอบกษัตริย์ แต่แท้จริง ทั้งหมด นี้ คือ เงิน และ ทรัพย์สินของประชาชน ทั้งหมด
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์" กับ "ทรัพย์สินราชวงศ์จักรี" กับ "ทรัพย์สินส่วนพระองค์ 



Sunday, November 27, 2016

อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

---------------------
***Download ร่างจดหมาย เพื่อส่งผู้นำนานาชาติต่าง ๆ ที่ http://tinyurl.com/gsetacg
***โปรดช่วยกันกระจายและส่งให้มากที่สุดนะครับ ขอบคุณครับ
สนับสนุนแนวทางมดแดงล้มช้าง ของ คณะราษฎรเสรีไทย กับ ดร. เพียงดิน 
ส่งข้อมูลลับผ่านช่องทางที่ปลอดภัยทางลิ้งค์ต่อไปนี้
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt
****ลิ้งค์ล่าสุด  http://tinyurl.com/gssuvm2
และรายงานการปฏิบัติงานและความคืบหน้าเครือข่าย ได้ที่ 4everche@gmail.com
----------------------
สนับสนุนการเผยแพร่โดย ภาคีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชน และมหาวิทยาลัยประชาชน เพื่อสาธารณะประโยชน์ ในการสร้างจิตสำนึกทางประชาธิปไตย สันติวิธี และการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน



อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

---------------------
***Download ร่างจดหมาย เพื่อส่งผู้นำนานาชาติต่าง ๆ ที่ http://tinyurl.com/gsetacg
***โปรดช่วยกันกระจายและส่งให้มากที่สุดนะครับ ขอบคุณครับ
สนับสนุนแนวทางมดแดงล้มช้าง ของ คณะราษฎรเสรีไทย กับ ดร. เพียงดิน 
ส่งข้อมูลลับผ่านช่องทางที่ปลอดภัยทางลิ้งค์ต่อไปนี้
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt
****ลิ้งค์ล่าสุด  http://tinyurl.com/gssuvm2
และรายงานการปฏิบัติงานและความคืบหน้าเครือข่าย ได้ที่ 4everche@gmail.com
----------------------
สนับสนุนการเผยแพร่โดย ภาคีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชน และมหาวิทยาลัยประชาชน เพื่อสาธารณะประโยชน์ ในการสร้างจิตสำนึกทางประชาธิปไตย สันติวิธี และการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน



อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

---------------------
***Download ร่างจดหมาย เพื่อส่งผู้นำนานาชาติต่าง ๆ ที่ http://tinyurl.com/gsetacg
***โปรดช่วยกันกระจายและส่งให้มากที่สุดนะครับ ขอบคุณครับ
สนับสนุนแนวทางมดแดงล้มช้าง ของ คณะราษฎรเสรีไทย กับ ดร. เพียงดิน 
ส่งข้อมูลลับผ่านช่องทางที่ปลอดภัยทางลิ้งค์ต่อไปนี้
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt
****ลิ้งค์ล่าสุด  http://tinyurl.com/gssuvm2
และรายงานการปฏิบัติงานและความคืบหน้าเครือข่าย ได้ที่ 4everche@gmail.com
----------------------
สนับสนุนการเผยแพร่โดย ภาคีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชน เครือข่ายเปลี่ยนระบอบ และมหาวิทยาลัยประชาชน
เพื่อสาธารณะประโยชน์ ในการสร้างจิตสำนึกทางประชาธิปไตย สันติวิธี และการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน



อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

อ. ชูพงศ์-ดร. เพียงดิน 28 พ.ย. 2559 ตอน ระวังภัยร้ายจากเครือข่ายเปรม ในช่วงเปลี่ยนรัชกาล

---------------------
***Download ร่างจดหมาย เพื่อส่งผู้นำนานาชาติต่าง ๆ ที่ http://tinyurl.com/gsetacg
***โปรดช่วยกันกระจายและส่งให้มากที่สุดนะครับ ขอบคุณครับ
สนับสนุนแนวทางมดแดงล้มช้าง ของ คณะราษฎรเสรีไทย กับ ดร. เพียงดิน 
ส่งข้อมูลลับผ่านช่องทางที่ปลอดภัยทางลิ้งค์ต่อไปนี้
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt
****ลิ้งค์ล่าสุด  http://tinyurl.com/gssuvm2
และรายงานการปฏิบัติงานและความคืบหน้าเครือข่าย ได้ที่ 4everche@gmail.com
----------------------
สนับสนุนการเผยแพร่โดย ภาคีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชน เครือข่ายเปลี่ยนระบอบ และมหาวิทยาลัยประชาชน
เพื่อสาธารณะประโยชน์ ในการสร้างจิตสำนึกทางประชาธิปไตย สันติวิธี และการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน



ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน สงสารพระบรม และ สหรัฐ จะเสียท่า จีน ในไทย??


ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน สงสารพระบรม และ สหรัฐ จะเสียท่า จีน ในไทย??

****************************
หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt

หากลิ้งค์ข้างบนถูกบล็อก ให้ส่งรายละเอียดไปที่ 4everche@gmail.com 
โดยระบุ 1. ชื่อ (จัดตั้งหรือชื่อกลุ่ม)  2. จำนวนสมาชิกในเครือข่าย 3. จังหวัดและอำเภอ  
4. อีเมล์  5. ไลน์หรือเบอร์โทรศัพท์  6. อาชีพของท่านหรือสมาชิก 





ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน สงสารพระบรม และ สหรัฐ จะเสียท่า จีน ในไทย??


ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน สงสารพระบรม และ สหรัฐ จะเสียท่า จีน ในไทย??

****************************
หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt

หากลิ้งค์ข้างบนถูกบล็อก ให้ส่งรายละเอียดไปที่ 4everche@gmail.com 
โดยระบุ 1. ชื่อ (จัดตั้งหรือชื่อกลุ่ม)  2. จำนวนสมาชิกในเครือข่าย 3. จังหวัดและอำเภอ  
4. อีเมล์  5. ไลน์หรือเบอร์โทรศัพท์  6. อาชีพของท่านหรือสมาชิก 





จนกว่าผงจะเข้าตา โดย ไทยรู้ทัน 27 พฤศจิกา 2559

จนกว่าผงจะเข้าตา

โดย ไทยรู้ทัน 27 พฤศจิกา 2559

แผ่นดินไทยมาถึงตรงนี้แตกแยกไม่มีชิ้นดี ทางเดียวที่จะกลับมาเหมือนเดิมได้ คือต้องผ่านการล้างด้วยเลือด ชำระความสกปรกด้วยไฟ อย่างนั้นหรือ? คนไทยต้องผ่านการสูญเสีย จนกว่าจะเป็นสังคมใหม่ที่สะอาดและผู้คนตระหนักถึงสิทธิความเป็นคน สิทธิและหน้าที่ของความเป็นประชาชนก่อน เช่นนั้นหรือ?

คนไทยนี้ไม่มีจิตสำนึก คนไทยนึกไม่ออก เพราะเหตุผลว่าสังคมไทยเป็นสังคมแห่งความเชื่อ เป็นสังคมห้ามคิด คนไทยคิดไม่ได้ เพราะว่าคนส่วนใหญ่ไม่เคยคิดจะนึกถึงเหตุผล ว่าทำไมประเทศไทยจึงพายเรือในอ่าง ทำไมคนไทยยากจน นั่นเพราะผลมาจากระบบการปกครองที่เอาเปรียบ พวกเขาทนให้กดขี่ ทนให้ถูกเอาเปรียบ ทนให้ถูกสร้างความเหลื่อมล้ำอยุติธรรมต่างๆ คนไทยคนไหนเป็นคนคิดได้ ก็ถูกห้ามคิด ห้ามพูด ห้ามแสดงออก ทางออกของคนไทยนี้จึงต้องให้คนไทยรู้สึกสำนึกได้ด้วยตัวเอง แล้วออกมาปกป้องตนเอง

คนไทยไม่เห็นโลงศพไม่หลั่งน้ำตา ผงใดไม่เข้าตา ข้าก็ไม่เจ็บ ผงที่เจ็บที่สุดคือผงที่เข้าตากู คนไทยเลยต้องทนอยู่แบบที่เป็นตอนนี้นี่ไงครับ พี่น้อง!!

อยากเห็นฟ้าใหม่ ที่มีสีทองผ่องอำไพ ประชาชนคนไทยต้องตื่นรู้ ไม่ใช่อุดอู้อยู่กับความงมงาย ลุ่มหลง เขาพร่ำสอนให้รัก ให้เชื่อ ให้ปลง จึงหลงอยู่กับคำว่า "พอเพียง" โอมเพี้ยง!!!!! จึงไม่เพียงพอ ที่จะรอวันกะลาเปิด คนไทยต้องเกิดกลียุค ยากจน อดอยากจนถึงที่สุด ผงต้องเข้าตาทุกคนที่เป็นผู้ถูกกดขี่บีฑา ถูกเอาเปรียบ วังวนวงจรอุบาทว์ จะถูกตั้งคำถาม แล้วตามมาด้วยความเปลี่ยนแปลง นั่นคือตาสว่างแจ่มแจ้ง ทั้งแผ่นดิน ต้องล้างให้สิ้นความอยุติธรรม นั่นคือ เซ็ตซีโร่ จริงๆ แล้วสิ่งที่ต้องสร้างถัดมาคือประชาธิปไตย ธรรมนูญใหม่จะถูกสร้างขึ้นจากประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน เป็นสัญญาแห่งประชาชน คือสัญญาประชาคม เมื่อความยุติธรรมที่เป็นความยุติธรรมก่อเกิดขึ้นบนแผ่นดินไทย ความอัปรีย์จัญไร จะหมดไป

จนกว่าผงจะเข้าตา https://thaipeople4republic.wordpress.com/2016/11/27/underground/

จนกว่าผงจะเข้าตา โดย ไทยรู้ทัน 27 พฤศจิกา 2559

จนกว่าผงจะเข้าตา

โดย ไทยรู้ทัน 27 พฤศจิกา 2559

แผ่นดินไทยมาถึงตรงนี้แตกแยกไม่มีชิ้นดี ทางเดียวที่จะกลับมาเหมือนเดิมได้ คือต้องผ่านการล้างด้วยเลือด ชำระความสกปรกด้วยไฟ อย่างนั้นหรือ? คนไทยต้องผ่านการสูญเสีย จนกว่าจะเป็นสังคมใหม่ที่สะอาดและผู้คนตระหนักถึงสิทธิความเป็นคน สิทธิและหน้าที่ของความเป็นประชาชนก่อน เช่นนั้นหรือ?

คนไทยนี้ไม่มีจิตสำนึก คนไทยนึกไม่ออก เพราะเหตุผลว่าสังคมไทยเป็นสังคมแห่งความเชื่อ เป็นสังคมห้ามคิด คนไทยคิดไม่ได้ เพราะว่าคนส่วนใหญ่ไม่เคยคิดจะนึกถึงเหตุผล ว่าทำไมประเทศไทยจึงพายเรือในอ่าง ทำไมคนไทยยากจน นั่นเพราะผลมาจากระบบการปกครองที่เอาเปรียบ พวกเขาทนให้กดขี่ ทนให้ถูกเอาเปรียบ ทนให้ถูกสร้างความเหลื่อมล้ำอยุติธรรมต่างๆ คนไทยคนไหนเป็นคนคิดได้ ก็ถูกห้ามคิด ห้ามพูด ห้ามแสดงออก ทางออกของคนไทยนี้จึงต้องให้คนไทยรู้สึกสำนึกได้ด้วยตัวเอง แล้วออกมาปกป้องตนเอง

คนไทยไม่เห็นโลงศพไม่หลั่งน้ำตา ผงใดไม่เข้าตา ข้าก็ไม่เจ็บ ผงที่เจ็บที่สุดคือผงที่เข้าตากู คนไทยเลยต้องทนอยู่แบบที่เป็นตอนนี้นี่ไงครับ พี่น้อง!!

อยากเห็นฟ้าใหม่ ที่มีสีทองผ่องอำไพ ประชาชนคนไทยต้องตื่นรู้ ไม่ใช่อุดอู้อยู่กับความงมงาย ลุ่มหลง เขาพร่ำสอนให้รัก ให้เชื่อ ให้ปลง จึงหลงอยู่กับคำว่า "พอเพียง" โอมเพี้ยง!!!!! จึงไม่เพียงพอ ที่จะรอวันกะลาเปิด คนไทยต้องเกิดกลียุค ยากจน อดอยากจนถึงที่สุด ผงต้องเข้าตาทุกคนที่เป็นผู้ถูกกดขี่บีฑา ถูกเอาเปรียบ วังวนวงจรอุบาทว์ จะถูกตั้งคำถาม แล้วตามมาด้วยความเปลี่ยนแปลง นั่นคือตาสว่างแจ่มแจ้ง ทั้งแผ่นดิน ต้องล้างให้สิ้นความอยุติธรรม นั่นคือ เซ็ตซีโร่ จริงๆ แล้วสิ่งที่ต้องสร้างถัดมาคือประชาธิปไตย ธรรมนูญใหม่จะถูกสร้างขึ้นจากประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน เป็นสัญญาแห่งประชาชน คือสัญญาประชาคม เมื่อความยุติธรรมที่เป็นความยุติธรรมก่อเกิดขึ้นบนแผ่นดินไทย ความอัปรีย์จัญไร จะหมดไป

จนกว่าผงจะเข้าตา https://thaipeople4republic.wordpress.com/2016/11/27/underground/

Saturday, November 26, 2016

ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน เบื้องลึก จับสึก สั่งฆ่าพระธัมมชโย และปิดวัดพระธรรมกาย

ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน เบื้องลึก จับสึก สั่งฆ่าพระธัมมชโย และปิดวัดพระธรรมกาย


https://youtu.be/yOeii5FmCWs


อย่าลืมกด Subscribe สถานีห้องสมุดมหาวิทยาลัยประชาชน ด้วยนะครับ 




ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน เบื้องลึก จับสึก สั่งฆ่าพระธัมมชโย และปิดวัดพระธรรมกาย

ดร. เพียงดิน รักไทย 27 พ.ย. 2559 ตอน เบื้องลึก จับสึก สั่งฆ่าพระธัมมชโย และปิดวัดพระธรรมกาย


https://youtu.be/yOeii5FmCWs


อย่าลืมกด Subscribe สถานีห้องสมุดมหาวิทยาลัยประชาชน ด้วยนะครับ 




Friday, November 25, 2016

“ทุกข์ของชาวนาคือทุกข์ของแผ่นดิน”

"ทุกข์ของชาวนาคือทุกข์ของแผ่นดิน"

--------------------------------------------

ข้าว-ชาวนา-การเมือง

-
ชาวนากับการเมืองไม่ใช่ปัญหาที่ "เกิดง่ายจบเร็ว" เหมือนอย่างปัญหายางพาราซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมืองบางกลุ่มอย่างชัดเจน "ทุกข์ของชาวนาคือทุกข์ของแผ่นดิน" จึงเป็นคำอมตะที่รัฐบาลยุคใดจะละเลยหรือไม่ใส่ใจไม่ได้ อย่างที่อาจารย์พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า

-
"ความเป็นชาวนานั้นมีลักษณะพิเศษบางอย่าง พวกเขาไม่ใช่แค่เป็น "ชนชั้นกลางแบบหนึ่ง" ที่จะมีจริตและรูปการณ์จิตสำนึกแบบชนชั้นกลางทั่วไป และจะมาจับยัดเอาง่ายๆว่าชาวนาต้องการการเมืองแบบประชาธิปไตยแบบเดียวกับคนชั้นกลาง โดยเฉพาะคนชั้นกลางในเมือง หรือชาวนาควรจะมีสิทธิเข้าถึงประชาธิปไตย เพราะเขาก็เป็นชนชั้นกลางเช่นกัน ในอีกด้านหนึ่งการศึกษาเรื่องชาวนานั้นก็ไม่ได้อธิบายทุกอย่างเป็นเพียงแค่ "คนจน" หรือ "กรรมาชีพ" ที่มีการเคลื่อนไหวและจัดตั้งองค์กรและความใฝ่ฝันทางการเมืองแบบ "กรรมกร" หรือผู้ใช้แรงงาน เรื่องนี้เป็นเรื่องที่พรรคคอมมิวนิสต์ในอดีตเข้าใจดีว่า ชาวนาเป็นทั้งปัจจัยแห่งความสำเร็จและปัจจัยแห่งความล้มเหลวของการปฏิวัติมวลชนและต่อต้านทุนนิยม ดังนั้น การจัดตั้งชาวนากับการจัดตั้งกรรมกรไม่ได้เป็นเรื่องที่ใช้ตำราเล่มเดียวกันได้ การเคลื่อนไหวของชาวนาที่เป็นแกนสำคัญในการปฏิวัติในจีนไม่ได้ประสบความสำเร็จในไทยก็เป็นตัวอย่างหนึ่งที่สำคัญ"


-
คำทำนาย "ฤาษีลิงดำ"
-
ความอับจนข้นแค้นของชาวนาจึงซับซ้อนกว่าแค่ข้าวราคาตกจะทำอย่างไร ไม่ใช่แค่จะโทษใครและกล่าวหาว่าใครสร้างภาพ ซึ่งมีแต่ลดทอนความศรัทธาที่ประชาชนมีต่อรัฐบาล และอาจเกิดอะไรก็ได้ในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านอย่างขณะนี้ อย่างที่ น.ต.ประสงค์ สุ่นศิริ เขียนในคอลัมน์ "ประสงค์พูด" โดยยกคำทำนายของ "หลวงพ่อฤาษีลิงดำ" ตอนหนึ่งที่ว่า "จะเข้าสู่ยุคมหาชนพาไป เปลี่ยนเมืองใหม่ศักราชแห่งประชา" คือประชาชนจะออกมาเป็นคนจัดการกับคนชั่วคนไม่ดีออกไปด้วยน้ำมือของประชาชน แม้จะเป็นคำทำนาย แต่ถ้าวิเคราะห์บนพื้นฐานของเหตุการณ์ต่างๆที่ผ่านมาตามลำดับ ในอนาคตข้างหน้าก็มีความเป็นไปได้ที่ประชาชนจะออกมาเป็นคนจัดการกับปัญหาต่างๆด้วยน้ำมือของประชาชนเองอย่างเต็มรูปแบบ อย่าคิดว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะประชาชนส่วนใหญ่สมัยนี้เป็นประชาชนที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆของบ้านเมืองดีขึ้น รู้ว่าอำนาจของตนที่มอบให้คนอื่นไปใช้ทำงานแทนตนนั้นได้ถูกใช้ไปอย่างไร ถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง หรือเพื่อประโยชน์ใคร

-
ประชาชนเจ็บปวดมามากกับเรื่องที่ให้อำนาจของตนไปใช้แทนเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แต่กลับไปใช้เพื่อประโยชน์ตนและพรรคพวกมาโดยตลอด แม้กระทั่งการเอาอำนาจของประชาชนไปใช้โดยวิธีการได้มาที่ไม่ถูกต้องก็ตาม ทำไปทำมาก็ยังคงเกิดปัญหายุ่งยากวุ่นวายไม่รู้จักจบจักสิ้นเหมือนเดิมอย่างที่กำลังเห็นกันอยู่ในขณะนี้
-

ความอยากได้อำนาจ โดยเฉพาะการได้มาที่ไม่เป็นไปตามกระบวนการที่ถูกต้องตามระบบ หรือแม้จะได้มาอย่างถูกต้องตามระบบก็ตาม ความอยากดังกล่าวนี้สามารถทำให้กลายเป็นคนไม่ดีไปได้ง่ายๆด้วยการดำเนินการต่างๆอันเป็นช่องทางแห่งการได้มาซึ่งอำนาจ หรือการรักษาอำนาจที่ได้มาให้คงอยู่ไม่หายไปไหน เช่น ยอมเป็นหุ่นเชิดให้กับคนชั่วคนเลวในการทำสิ่งต่างๆ หรือคิดอ่านเสนอนั่นเสนอนี่ในการได้อำนาจหรืออยู่ในอำนาจได้ยาวนาน เป็นต้น

-
ใครก็ตามที่มีคนอย่างนี้ร่วมงานหรือใช้งาน แม้กระทั่งอาสาเข้ามาช่วยโน่นช่วยนี่ก็ตาม ถ้าเออออห่อหมกตามไปด้วยโดยไม่คิดให้ดีแล้ว เจ๊งทุกราย จะต้องเสื่อมลงและหมดค่าลงไปเรื่อยๆ ชีวิตบั้นปลายที่เหลืออยู่จะมีแต่ความสูญเปล่า จะกลายเป็นชีวิตที่ไม่ผิดอะไรกับวิญญาณพเนจร อดีตที่เคยรุ่งโรจน์ก็จะต้องดับวูบ ต้องมัวหมอง และต้องกลายเป็นคนไม่ดี ถูกด่าถูกว่าจากทุกสารทิศตามไปด้วย จะโทษใครไม่ได้ นอกจากโทษตัวเอง และรีบแก้ไขทั้งสายตาและหูของตนที่ต้องเปิดกว้างให้มากขึ้น เพราะตาที่เปิดกว้างจะทำให้เห็นถึงทิศทางของคนประจบสอพลอ หรือจากผู้ท้วงติงอย่างมีเหตุผล
-

ขณะที่หูที่เปิดกว้างนั้นจะรับเสียงได้ทุกทิศทุกทาง จะลงจากอำนาจในครั้งนี้ได้อย่างปลอดภัยก็เพราะรู้จักใช้หูและตาของตนให้ถูกต้องเท่านั้น ไม่เชื่อก็ขอให้อ่านคำทำนายของหลวงพ่อฤาษีลิงดำข้างต้นนี้อีกครั้งก็แล้วกันว่าอะไรกำลังจะเกิดขึ้น

-
"…เมื่อถึงปลายรัชกาลผ่านเข้ามา…แผ่นดินแตกแยกเป็นสองปกครองยาก เกิดวิบากทุกข์เข็ญระส่ำระสาย เกิดการปราบจลาจลชนล้มตาย เลือดเป็นสายน้ำตานองสองแผ่นดิน…"
-

โศกนาฏกรรมชาวนาไทย
-

การปรับท่าทีของ พล.อ.ประยุทธ์กับราคาข้าวที่ตกต่ำโดยไม่แสดงอาการฉุนเฉียวตอบโต้ทันทีทันใดเหมือนที่ผ่านมาและยังยินดีที่ทุกฝ่ายตื่นตัวร่วมกันช่วยชาวนา สะท้อนให้เห็นชัดเจนว่าปัญหาชาวนานั้นละเอียดอ่อนอย่างไร ยิ่งช่วงโค้งสุดท้ายของรัฐบาลและผ่านพ้นช่วงการเปลี่ยนผ่านสำคัญมาแล้ว พล.อ.ประยุทธ์ก็รู้ดีว่าปัญหาต่างๆที่เรื้อรังและหมักหมมจะประดังเข้าใส่รัฐบาลและ คสช. แน่นอน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม ซึ่งทุกปัญหาล้วนเกี่ยวข้องกับอนาคตทางการเมืองของ คสช. อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

-
เช่นเดียวกับปัญหาชาวนาที่อาจจะปะทุเป็น "ม็อบชาวนา" ได้ตลอดเวลา หากการแก้ปัญหาไม่ต่อเนื่อง หรือลักปิดลักเปิด หรือยังมองการเมืองแบบเดิมๆ ปล่อยให้ลิ่วล้อออกมาสร้างความขัดแย้ง หรือบิดเบือนความจริง อย่างเรื่องชาวนาผูกคอตาย ซึ่งเป็นเรื่องไม่สมควรอย่างยิ่ง

-
รัฐบาลและ คสช. ตระหนักดีว่า สถานการณ์วันนี้แตกต่างจากอดีตอย่างมาก แม้ยังมีกองทัพสนับสนุนเต็มที่ก็ตาม แต่ปัญหาต่างๆที่สะสมและกดดันประชาชนก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆหากรัฐบาลใช้อำนาจแก้ปัญหาแค่ให้ผ่านไปวันๆ แทนที่จะแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะปัญหาเศรษฐกิจ ซึ่งประชาชนทั้งคนชั้นกลาง เกษตรกร และกรรมกร วันนี้กำลังเดือดร้อนอย่างมาก เมื่อคนตกงานและไม่มีจะกิน อะไรก็เกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะปัญหาชาวไร่ชาวนาที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ

-
พล.อ.ประยุทธ์รู้ดีว่าต้องเร่งสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนและเกษตรกร ไม่ใช่สร้างศัตรู หรือเดินตามเกมนักการเมืองบางคนที่พยายามเสี้ยมเพื่อใช้รัฐบาลและ คสช. กำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง ซึ่งนอกจากจะไม่ทำให้เกิดความปรองดองและตอกย้ำความยุติธรรมสองมาตรฐานแล้ว ยังเป็นการทำร้ายชาวนาอย่างเลือดเย็นอีกด้วย

-
แหล่งที่มา โลกวันนี้
-
ห้องข่าวเสรีไทย


CB37B92C-A68B-4D72-B19A-462FA447CD12

“ทุกข์ของชาวนาคือทุกข์ของแผ่นดิน”

"ทุกข์ของชาวนาคือทุกข์ของแผ่นดิน"

--------------------------------------------

ข้าว-ชาวนา-การเมือง

-
ชาวนากับการเมืองไม่ใช่ปัญหาที่ "เกิดง่ายจบเร็ว" เหมือนอย่างปัญหายางพาราซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมืองบางกลุ่มอย่างชัดเจน "ทุกข์ของชาวนาคือทุกข์ของแผ่นดิน" จึงเป็นคำอมตะที่รัฐบาลยุคใดจะละเลยหรือไม่ใส่ใจไม่ได้ อย่างที่อาจารย์พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า

-
"ความเป็นชาวนานั้นมีลักษณะพิเศษบางอย่าง พวกเขาไม่ใช่แค่เป็น "ชนชั้นกลางแบบหนึ่ง" ที่จะมีจริตและรูปการณ์จิตสำนึกแบบชนชั้นกลางทั่วไป และจะมาจับยัดเอาง่ายๆว่าชาวนาต้องการการเมืองแบบประชาธิปไตยแบบเดียวกับคนชั้นกลาง โดยเฉพาะคนชั้นกลางในเมือง หรือชาวนาควรจะมีสิทธิเข้าถึงประชาธิปไตย เพราะเขาก็เป็นชนชั้นกลางเช่นกัน ในอีกด้านหนึ่งการศึกษาเรื่องชาวนานั้นก็ไม่ได้อธิบายทุกอย่างเป็นเพียงแค่ "คนจน" หรือ "กรรมาชีพ" ที่มีการเคลื่อนไหวและจัดตั้งองค์กรและความใฝ่ฝันทางการเมืองแบบ "กรรมกร" หรือผู้ใช้แรงงาน เรื่องนี้เป็นเรื่องที่พรรคคอมมิวนิสต์ในอดีตเข้าใจดีว่า ชาวนาเป็นทั้งปัจจัยแห่งความสำเร็จและปัจจัยแห่งความล้มเหลวของการปฏิวัติมวลชนและต่อต้านทุนนิยม ดังนั้น การจัดตั้งชาวนากับการจัดตั้งกรรมกรไม่ได้เป็นเรื่องที่ใช้ตำราเล่มเดียวกันได้ การเคลื่อนไหวของชาวนาที่เป็นแกนสำคัญในการปฏิวัติในจีนไม่ได้ประสบความสำเร็จในไทยก็เป็นตัวอย่างหนึ่งที่สำคัญ"


-
คำทำนาย "ฤาษีลิงดำ"
-
ความอับจนข้นแค้นของชาวนาจึงซับซ้อนกว่าแค่ข้าวราคาตกจะทำอย่างไร ไม่ใช่แค่จะโทษใครและกล่าวหาว่าใครสร้างภาพ ซึ่งมีแต่ลดทอนความศรัทธาที่ประชาชนมีต่อรัฐบาล และอาจเกิดอะไรก็ได้ในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านอย่างขณะนี้ อย่างที่ น.ต.ประสงค์ สุ่นศิริ เขียนในคอลัมน์ "ประสงค์พูด" โดยยกคำทำนายของ "หลวงพ่อฤาษีลิงดำ" ตอนหนึ่งที่ว่า "จะเข้าสู่ยุคมหาชนพาไป เปลี่ยนเมืองใหม่ศักราชแห่งประชา" คือประชาชนจะออกมาเป็นคนจัดการกับคนชั่วคนไม่ดีออกไปด้วยน้ำมือของประชาชน แม้จะเป็นคำทำนาย แต่ถ้าวิเคราะห์บนพื้นฐานของเหตุการณ์ต่างๆที่ผ่านมาตามลำดับ ในอนาคตข้างหน้าก็มีความเป็นไปได้ที่ประชาชนจะออกมาเป็นคนจัดการกับปัญหาต่างๆด้วยน้ำมือของประชาชนเองอย่างเต็มรูปแบบ อย่าคิดว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะประชาชนส่วนใหญ่สมัยนี้เป็นประชาชนที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆของบ้านเมืองดีขึ้น รู้ว่าอำนาจของตนที่มอบให้คนอื่นไปใช้ทำงานแทนตนนั้นได้ถูกใช้ไปอย่างไร ถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง หรือเพื่อประโยชน์ใคร

-
ประชาชนเจ็บปวดมามากกับเรื่องที่ให้อำนาจของตนไปใช้แทนเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แต่กลับไปใช้เพื่อประโยชน์ตนและพรรคพวกมาโดยตลอด แม้กระทั่งการเอาอำนาจของประชาชนไปใช้โดยวิธีการได้มาที่ไม่ถูกต้องก็ตาม ทำไปทำมาก็ยังคงเกิดปัญหายุ่งยากวุ่นวายไม่รู้จักจบจักสิ้นเหมือนเดิมอย่างที่กำลังเห็นกันอยู่ในขณะนี้
-

ความอยากได้อำนาจ โดยเฉพาะการได้มาที่ไม่เป็นไปตามกระบวนการที่ถูกต้องตามระบบ หรือแม้จะได้มาอย่างถูกต้องตามระบบก็ตาม ความอยากดังกล่าวนี้สามารถทำให้กลายเป็นคนไม่ดีไปได้ง่ายๆด้วยการดำเนินการต่างๆอันเป็นช่องทางแห่งการได้มาซึ่งอำนาจ หรือการรักษาอำนาจที่ได้มาให้คงอยู่ไม่หายไปไหน เช่น ยอมเป็นหุ่นเชิดให้กับคนชั่วคนเลวในการทำสิ่งต่างๆ หรือคิดอ่านเสนอนั่นเสนอนี่ในการได้อำนาจหรืออยู่ในอำนาจได้ยาวนาน เป็นต้น

-
ใครก็ตามที่มีคนอย่างนี้ร่วมงานหรือใช้งาน แม้กระทั่งอาสาเข้ามาช่วยโน่นช่วยนี่ก็ตาม ถ้าเออออห่อหมกตามไปด้วยโดยไม่คิดให้ดีแล้ว เจ๊งทุกราย จะต้องเสื่อมลงและหมดค่าลงไปเรื่อยๆ ชีวิตบั้นปลายที่เหลืออยู่จะมีแต่ความสูญเปล่า จะกลายเป็นชีวิตที่ไม่ผิดอะไรกับวิญญาณพเนจร อดีตที่เคยรุ่งโรจน์ก็จะต้องดับวูบ ต้องมัวหมอง และต้องกลายเป็นคนไม่ดี ถูกด่าถูกว่าจากทุกสารทิศตามไปด้วย จะโทษใครไม่ได้ นอกจากโทษตัวเอง และรีบแก้ไขทั้งสายตาและหูของตนที่ต้องเปิดกว้างให้มากขึ้น เพราะตาที่เปิดกว้างจะทำให้เห็นถึงทิศทางของคนประจบสอพลอ หรือจากผู้ท้วงติงอย่างมีเหตุผล
-

ขณะที่หูที่เปิดกว้างนั้นจะรับเสียงได้ทุกทิศทุกทาง จะลงจากอำนาจในครั้งนี้ได้อย่างปลอดภัยก็เพราะรู้จักใช้หูและตาของตนให้ถูกต้องเท่านั้น ไม่เชื่อก็ขอให้อ่านคำทำนายของหลวงพ่อฤาษีลิงดำข้างต้นนี้อีกครั้งก็แล้วกันว่าอะไรกำลังจะเกิดขึ้น

-
"…เมื่อถึงปลายรัชกาลผ่านเข้ามา…แผ่นดินแตกแยกเป็นสองปกครองยาก เกิดวิบากทุกข์เข็ญระส่ำระสาย เกิดการปราบจลาจลชนล้มตาย เลือดเป็นสายน้ำตานองสองแผ่นดิน…"
-

โศกนาฏกรรมชาวนาไทย
-

การปรับท่าทีของ พล.อ.ประยุทธ์กับราคาข้าวที่ตกต่ำโดยไม่แสดงอาการฉุนเฉียวตอบโต้ทันทีทันใดเหมือนที่ผ่านมาและยังยินดีที่ทุกฝ่ายตื่นตัวร่วมกันช่วยชาวนา สะท้อนให้เห็นชัดเจนว่าปัญหาชาวนานั้นละเอียดอ่อนอย่างไร ยิ่งช่วงโค้งสุดท้ายของรัฐบาลและผ่านพ้นช่วงการเปลี่ยนผ่านสำคัญมาแล้ว พล.อ.ประยุทธ์ก็รู้ดีว่าปัญหาต่างๆที่เรื้อรังและหมักหมมจะประดังเข้าใส่รัฐบาลและ คสช. แน่นอน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม ซึ่งทุกปัญหาล้วนเกี่ยวข้องกับอนาคตทางการเมืองของ คสช. อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

-
เช่นเดียวกับปัญหาชาวนาที่อาจจะปะทุเป็น "ม็อบชาวนา" ได้ตลอดเวลา หากการแก้ปัญหาไม่ต่อเนื่อง หรือลักปิดลักเปิด หรือยังมองการเมืองแบบเดิมๆ ปล่อยให้ลิ่วล้อออกมาสร้างความขัดแย้ง หรือบิดเบือนความจริง อย่างเรื่องชาวนาผูกคอตาย ซึ่งเป็นเรื่องไม่สมควรอย่างยิ่ง

-
รัฐบาลและ คสช. ตระหนักดีว่า สถานการณ์วันนี้แตกต่างจากอดีตอย่างมาก แม้ยังมีกองทัพสนับสนุนเต็มที่ก็ตาม แต่ปัญหาต่างๆที่สะสมและกดดันประชาชนก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆหากรัฐบาลใช้อำนาจแก้ปัญหาแค่ให้ผ่านไปวันๆ แทนที่จะแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะปัญหาเศรษฐกิจ ซึ่งประชาชนทั้งคนชั้นกลาง เกษตรกร และกรรมกร วันนี้กำลังเดือดร้อนอย่างมาก เมื่อคนตกงานและไม่มีจะกิน อะไรก็เกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะปัญหาชาวไร่ชาวนาที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ

-
พล.อ.ประยุทธ์รู้ดีว่าต้องเร่งสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนและเกษตรกร ไม่ใช่สร้างศัตรู หรือเดินตามเกมนักการเมืองบางคนที่พยายามเสี้ยมเพื่อใช้รัฐบาลและ คสช. กำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง ซึ่งนอกจากจะไม่ทำให้เกิดความปรองดองและตอกย้ำความยุติธรรมสองมาตรฐานแล้ว ยังเป็นการทำร้ายชาวนาอย่างเลือดเย็นอีกด้วย

-
แหล่งที่มา โลกวันนี้
-
ห้องข่าวเสรีไทย


CB37B92C-A68B-4D72-B19A-462FA447CD12

Wednesday, November 23, 2016

ดร.​ เพียงดิน รักไทย 24 พ.ย. 2559 ตอน ใครเป็นใคร ในขบวน "ล้มเจ้า" ตัวจริง!


ดร.​ เพียงดิน รักไทย   24 พ.ย. 2559 ตอน ใครเป็นใคร ในขบวน "ล้มเจ้า" ตัวจริง!  

****************************
หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt

หากลิ้งค์ข้างบนถูกบล็อก ให้ส่งรายละเอียดไปที่ 4everche@gmail.com โดยระบุ 1. ชื่อ (จัดตั้งหรือชื่อกลุ่ม)  2. จำนวนสมาชิกในเครือข่าย 3. จังหวัดและอำเภอ  4. อีเมล์  5. ไลน์หรือเบอร์โทรศัพท์  6. อาชีพของท่านหรือสมาชิก

ดร.​ เพียงดิน รักไทย 24 พ.ย. 2559 ตอน ใครเป็นใคร ในขบวน "ล้มเจ้า" ตัวจริง!


ดร.​ เพียงดิน รักไทย   24 พ.ย. 2559 ตอน ใครเป็นใคร ในขบวน "ล้มเจ้า" ตัวจริง!  

****************************
หากท่านคิดดี หวังดี และมั่นใจในความดีของท่าน ขอให้ปาวารณาตัว ร่วมเป็นมดแดงล้มช้าง ได้ที่
หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt

หากลิ้งค์ข้างบนถูกบล็อก ให้ส่งรายละเอียดไปที่ 4everche@gmail.com โดยระบุ 1. ชื่อ (จัดตั้งหรือชื่อกลุ่ม)  2. จำนวนสมาชิกในเครือข่าย 3. จังหวัดและอำเภอ  4. อีเมล์  5. ไลน์หรือเบอร์โทรศัพท์  6. อาชีพของท่านหรือสมาชิก

"แจกเงิน" ประชานิยมสิ้นคิด

Watana Muangsook

Follow

6 hrs ·


"แจกเงิน" ประชานิยมสิ้นคิด

มติ ครม. ที่ให้เพิ่มรายได้ให้แก่ผู้มีรายได้น้อยรายละ 1,500-3,000 บาท จำนวน 5.4 ล้านคน เริ่มจ่ายตั้งแต่ 1-30 ธันวาคม 2559 คือนโยบายหว่านเงิน (helicopter money) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เท่ากับรัฐบาลนี้ยอมรับว่าผู้มีรายได้น้อยหรือรากหญ้ามีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจที่กำลังอยู่ในภาวะวิกฤตเพราะการดำเนินนโยบายที่ผิดพลาด แต่รัฐบาลหมดความสามารถที่จะหามาตรการอื่นมากระตุ้นเศรษฐกิจแล้ว จึงต้องเลือกใช้การแจกเงินซึ่งไม่ต้องใช้ความคิดแต่ได้ผลน้อยที่สุด เพราะเมื่อใช้แล้วจบลงในคราวเดียว

รัฐบาลนี้เคยสร้างวาทกรรมกล่าวหารัฐบาลเพื่อไทยที่ดำเนินนโยบายรับจำนำข้าวว่าเป็นประชานิยม อ้างว่าการรับจำนำสูงกว่าราคาตลาดทำให้รัฐขาดทุน ทั้งที่เป็นนโยบายสาธารณะทางเศรษฐกิจตามมาตรา 84 (8) ของรัฐธรรมนูญ 2550 เพื่อให้สินค้าเกษตรได้รับราคาที่เหมาะสมและไม่ทำให้เสียวินัยเพราะไม่ได้เป็นการให้เปล่าเหมือนการแจกเงิน ทำให้เกษตรกรซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่มีกำลังซื้อเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องตามมามากมาย การดำเนินนโยบายที่ถูกต้องทำให้เศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลไทยรักไทย พลังประชาชนและเพื่อไทยดีมาตลอด เศรษฐกิจของประเทศจึงไม่เคยเข้าตาจนถึงขนาดต้องใช้มาตรการแจกเงินเหมือนที่รัฐบาลนี้และบางพรรคต้องนำมาใช้ แต่นายกยิ่งลักษณ์กลับถูกดำเนินคดีทั้งทางอาญาและทางแพ่ง

การทำให้คนจนได้รับประโยชน์เป็นเรื่องที่ควรสนับสนุน เพราะเศรษฐกิจไม่มีสีและฝักฝ่ายทางการเมือง แต่รัฐบาลต้องใช้สติปัญญาคิดหามาตรการทางเศรษฐกิจที่ทำให้ประชาชนมีความหวัง จะเกิดการลงทุนและการจ้างงานทำให้คนยากจนมีรายได้อย่างต่อเนื่องซึ่งดีกว่าการแจกเงิน ความเชื่อมั่นและกำลังซื้อก็จะกลับคืนมาเอง ยอมรับได้หรือยังว่าการบริหารประเทศมีความสลับซับซ้อนที่ต้องใช้สติปัญญา ไม่ใช่เพียงใช้วาทกรรมไปวันๆ แบบที่เป็น ก็ขนาดผู้คนทั้งโลกเห็นว่าเป็นการแจกเงิน นรม. ยังปฏิเสธว่าไม่ใช่แต่เป็นการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย ที่จริงควรบอกว่าการรับจำนำข้าวเป็นประชานิยมส่วนการแจกเงินเป็นประชารัฐ จะได้ดูมีสติปัญญามากขึ้น

วัฒนา เมืองสุข

พรรคเพื่อไทย

23 พฤศจิกายน 2559

"แจกเงิน" ประชานิยมสิ้นคิด

Watana Muangsook

Follow

6 hrs ·


"แจกเงิน" ประชานิยมสิ้นคิด

มติ ครม. ที่ให้เพิ่มรายได้ให้แก่ผู้มีรายได้น้อยรายละ 1,500-3,000 บาท จำนวน 5.4 ล้านคน เริ่มจ่ายตั้งแต่ 1-30 ธันวาคม 2559 คือนโยบายหว่านเงิน (helicopter money) เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เท่ากับรัฐบาลนี้ยอมรับว่าผู้มีรายได้น้อยหรือรากหญ้ามีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจที่กำลังอยู่ในภาวะวิกฤตเพราะการดำเนินนโยบายที่ผิดพลาด แต่รัฐบาลหมดความสามารถที่จะหามาตรการอื่นมากระตุ้นเศรษฐกิจแล้ว จึงต้องเลือกใช้การแจกเงินซึ่งไม่ต้องใช้ความคิดแต่ได้ผลน้อยที่สุด เพราะเมื่อใช้แล้วจบลงในคราวเดียว

รัฐบาลนี้เคยสร้างวาทกรรมกล่าวหารัฐบาลเพื่อไทยที่ดำเนินนโยบายรับจำนำข้าวว่าเป็นประชานิยม อ้างว่าการรับจำนำสูงกว่าราคาตลาดทำให้รัฐขาดทุน ทั้งที่เป็นนโยบายสาธารณะทางเศรษฐกิจตามมาตรา 84 (8) ของรัฐธรรมนูญ 2550 เพื่อให้สินค้าเกษตรได้รับราคาที่เหมาะสมและไม่ทำให้เสียวินัยเพราะไม่ได้เป็นการให้เปล่าเหมือนการแจกเงิน ทำให้เกษตรกรซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่มีกำลังซื้อเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องตามมามากมาย การดำเนินนโยบายที่ถูกต้องทำให้เศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลไทยรักไทย พลังประชาชนและเพื่อไทยดีมาตลอด เศรษฐกิจของประเทศจึงไม่เคยเข้าตาจนถึงขนาดต้องใช้มาตรการแจกเงินเหมือนที่รัฐบาลนี้และบางพรรคต้องนำมาใช้ แต่นายกยิ่งลักษณ์กลับถูกดำเนินคดีทั้งทางอาญาและทางแพ่ง

การทำให้คนจนได้รับประโยชน์เป็นเรื่องที่ควรสนับสนุน เพราะเศรษฐกิจไม่มีสีและฝักฝ่ายทางการเมือง แต่รัฐบาลต้องใช้สติปัญญาคิดหามาตรการทางเศรษฐกิจที่ทำให้ประชาชนมีความหวัง จะเกิดการลงทุนและการจ้างงานทำให้คนยากจนมีรายได้อย่างต่อเนื่องซึ่งดีกว่าการแจกเงิน ความเชื่อมั่นและกำลังซื้อก็จะกลับคืนมาเอง ยอมรับได้หรือยังว่าการบริหารประเทศมีความสลับซับซ้อนที่ต้องใช้สติปัญญา ไม่ใช่เพียงใช้วาทกรรมไปวันๆ แบบที่เป็น ก็ขนาดผู้คนทั้งโลกเห็นว่าเป็นการแจกเงิน นรม. ยังปฏิเสธว่าไม่ใช่แต่เป็นการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย ที่จริงควรบอกว่าการรับจำนำข้าวเป็นประชานิยมส่วนการแจกเงินเป็นประชารัฐ จะได้ดูมีสติปัญญามากขึ้น

วัฒนา เมืองสุข

พรรคเพื่อไทย

23 พฤศจิกายน 2559

การละสังขารของภูมิพล ทิ้งมรดกบาปไว้มากมาย

ความเสียหายเกินปล่อยให้ยืดยาว

เมื่อถึงคราวภูมิพลต้องละสังขาร

บัลลังก์ถึงวันประชาพิจารณ์

อนาคตถึงกาลเปลี่ยนระบอบยั่งยืน


+++++++++++++++++++++++++

ความเสียหาย

  • การลงทุนไหลออก
  • การส่งออกยับเยิน
  • การท่องเที่ยวมีแต่ยอดคน แต่ยอดเงินถดถอย
  • ราคาสินค้าเกษตรกรรมตกต่ำทั่วหน้า ชาวประชาขาดแรงซื้อ
  • การคดโกงแบบแดกด่วน เกิดขึ้นต่อเนื่องและยิ่งหนักหน่วงในยุคแก็งค์แดกด่วน
  • ระบบตรวจสอบถูกทำลายสิ้น การโกงกินจึงมหันต์
  • งบเทิดทูนและงบกองทัพ เพิ่มเกินสองเท่าในช่วงไม่ถึงสิบปี
  • เปิดโอกาสให้ต่างชาติเข้ามาร่วมปล้นชาติ ด้วยนโยบายอันเกิดจากความเห็นแก่ตัวของชนชั้นปกครอง


การละสังขารของภูมิพล ทิ้งมรดกบาปไว้มากมาย

  • ความแตกแยกของปวงชนเป็นไปอย่างลึกซึ้งและร้าวฉานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติ
  • การสังหารหมู่ประชาชน เกิดขึ้นซ้ำซาก โดยคนก่อกรรมไม่ได้รับโทษ เหยื่อไม่ได้รับความยุติธรรม
  • คนไม่จงรักภักดี ถูกเล่นงานด้วยกฎหมายเถื่อน
  • ทหารของพระราชา เอากฎหมายยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาใช้ก่อนยึดอำนาจรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
  • ความตกต่ำและภาพความอัปลักษณ์ของราชวงศ์ แม้ว่าจะใช้งบประมาณเทิดทูนเป็นประวัติการณ์
  • ราชวงศ์ที่สิ้นเปลืองเงินภาษีอากรประชาชนมากที่สุด
  • ความร่ำรวยผิดปกติบนทฤษฎีพอเพียง
  • สถิติการปล้นอำนาจประชาชน ด้วยการรัฐประหารในสภา บนบัลลังก์ศาล และด้วยรถถัง
  • โครงการหลวงที่แก้ปัญหาอะไรไม่ได้จริง (อ่างเก็บน้ำ กังหัน ...สุดท้ายก็แค่ ชั่งหัวมัน)
  • ระบบยุติธรรมที่ตกต่ำ เหมือนบ้านป่าเมืองเถื่อน สองมาตราหรือไม่มีมาตรฐาน สอบตกในทุกเรื่องตามระดับมาตรฐานโลก
  • การศึกษาตกต่ำล้าหลังเพื่อนบ้านอาเซี่ยน
  • การคดโกงคอรัปชั่นโดยคนดี น่ารังเกียจตั้งแต่เดย์วัน
  • นักการเมืองตัวแทนประชาชนถูกทำลายป้ายสี (และลดอำนาจ)
  • รัฐสภาถูกป้ายสีให้เป็น เผด็จการเสียงข้างมาก
  • การเลือกตั้ง ถูกลดค่าเป็นการขายจิตวิญญาณและความเป็นมนุษย์ของประชาชน
  • สิทธิมนุษยชนถูกเหยียบย่ำอย่างเลวร้ายที่สุดในรอบหลายสิบปี
  • การเปลี่ยนรัชกาล สร้างปัญหาให้ชาติและปวงชนอย่างน่าทุเรศ


ทางเลือกของประเทศไทย

มีกษัตริย์ หรือไม่มีกษัตริย์

ราชาธิปไตย หรือ ประชาธิปไตย


อนาคต หลัง ภูมิพล ควรอยู่ในมือใคร?


ประชาชนต้องแสดงตัว อาศัยโอกาสสำคัญนี้ เปลี่ยนระบอบ



การละสังขารของภูมิพล ทิ้งมรดกบาปไว้มากมาย

ความเสียหายเกินปล่อยให้ยืดยาว

เมื่อถึงคราวภูมิพลต้องละสังขาร

บัลลังก์ถึงวันประชาพิจารณ์

อนาคตถึงกาลเปลี่ยนระบอบยั่งยืน


+++++++++++++++++++++++++

ความเสียหาย

  • การลงทุนไหลออก
  • การส่งออกยับเยิน
  • การท่องเที่ยวมีแต่ยอดคน แต่ยอดเงินถดถอย
  • ราคาสินค้าเกษตรกรรมตกต่ำทั่วหน้า ชาวประชาขาดแรงซื้อ
  • การคดโกงแบบแดกด่วน เกิดขึ้นต่อเนื่องและยิ่งหนักหน่วงในยุคแก็งค์แดกด่วน
  • ระบบตรวจสอบถูกทำลายสิ้น การโกงกินจึงมหันต์
  • งบเทิดทูนและงบกองทัพ เพิ่มเกินสองเท่าในช่วงไม่ถึงสิบปี
  • เปิดโอกาสให้ต่างชาติเข้ามาร่วมปล้นชาติ ด้วยนโยบายอันเกิดจากความเห็นแก่ตัวของชนชั้นปกครอง


การละสังขารของภูมิพล ทิ้งมรดกบาปไว้มากมาย

  • ความแตกแยกของปวงชนเป็นไปอย่างลึกซึ้งและร้าวฉานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติ
  • การสังหารหมู่ประชาชน เกิดขึ้นซ้ำซาก โดยคนก่อกรรมไม่ได้รับโทษ เหยื่อไม่ได้รับความยุติธรรม
  • คนไม่จงรักภักดี ถูกเล่นงานด้วยกฎหมายเถื่อน
  • ทหารของพระราชา เอากฎหมายยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาใช้ก่อนยึดอำนาจรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
  • ความตกต่ำและภาพความอัปลักษณ์ของราชวงศ์ แม้ว่าจะใช้งบประมาณเทิดทูนเป็นประวัติการณ์
  • ราชวงศ์ที่สิ้นเปลืองเงินภาษีอากรประชาชนมากที่สุด
  • ความร่ำรวยผิดปกติบนทฤษฎีพอเพียง
  • สถิติการปล้นอำนาจประชาชน ด้วยการรัฐประหารในสภา บนบัลลังก์ศาล และด้วยรถถัง
  • โครงการหลวงที่แก้ปัญหาอะไรไม่ได้จริง (อ่างเก็บน้ำ กังหัน ...สุดท้ายก็แค่ ชั่งหัวมัน)
  • ระบบยุติธรรมที่ตกต่ำ เหมือนบ้านป่าเมืองเถื่อน สองมาตราหรือไม่มีมาตรฐาน สอบตกในทุกเรื่องตามระดับมาตรฐานโลก
  • การศึกษาตกต่ำล้าหลังเพื่อนบ้านอาเซี่ยน
  • การคดโกงคอรัปชั่นโดยคนดี น่ารังเกียจตั้งแต่เดย์วัน
  • นักการเมืองตัวแทนประชาชนถูกทำลายป้ายสี (และลดอำนาจ)
  • รัฐสภาถูกป้ายสีให้เป็น เผด็จการเสียงข้างมาก
  • การเลือกตั้ง ถูกลดค่าเป็นการขายจิตวิญญาณและความเป็นมนุษย์ของประชาชน
  • สิทธิมนุษยชนถูกเหยียบย่ำอย่างเลวร้ายที่สุดในรอบหลายสิบปี
  • การเปลี่ยนรัชกาล สร้างปัญหาให้ชาติและปวงชนอย่างน่าทุเรศ


ทางเลือกของประเทศไทย

มีกษัตริย์ หรือไม่มีกษัตริย์

ราชาธิปไตย หรือ ประชาธิปไตย


อนาคต หลัง ภูมิพล ควรอยู่ในมือใคร?


ประชาชนต้องแสดงตัว อาศัยโอกาสสำคัญนี้ เปลี่ยนระบอบ