PPD's Official Website

Friday, April 29, 2016

คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง - ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน

คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง
-
ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน......จินตนาการกันบ้างเถอะ ถ้าวันหนึ่ง ตัวคุณ/เพื่อนคุณ ลูกคุณ พ่อคุณ ถูกอุ้มหาย คุณจะรู้สึกอย่างไร?!

------------------------------------------------------------------------------------
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยง "อันตราย" ที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้!.
-
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส ทำหน้าที่คล้ายบทบรรณาธิการ ที่แสดงจุดยืนของทีมงานไอลอว์ ในฐานะคนทำงานติดตามประเด็นต่างๆ

อ่านตอนใหม่ได้ที่ >> http://ilaw.or.th/node/4093]
.
ช่วงเช้าของวันนี้ (27 เมษายน 2559) มีรายงานผ่านโลกออนไลน์เป็นระยะว่า ประชาชนคนธรรมดาถูกจับกุมและพาตัวไปจากบ้านตั้งแต่เวลารุ่งเช้า อย่างน้อย 10 คน
.
โดยบุคคลที่ถูกจับตัวไป บางคนเป็นช่างภาพ บางคนเป็นเจ้าของกิจการ บ้างก็เป็นนักเขียน แต่สิ่งที่คล้ายกันในหมู่พวกเขาก็คือ "ความสนใจต่อเหตุการณ์บ้านเมือง"
.
แต่ท่ามกลางความสับสนของการใช้อำนาจจับกุมตัวบุคคลดังกล่าว ไอลอว์มีข้อสังเกตเกี่ยวกับเหตุผลและความชอบธรรมในอำนาจที่จะจับกุม ตรวจค้น ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน รวมไปถึงการควบคุมตัวในครั้งนี้ว่า มันมีปัญหาในแง่ "อำนาจที่ใช้กับฐานความผิดไม่สอดคล้องกัน"
.
กล่าวคือ การจับกุมและควบคุมตัวดังกล่าว หากเป็นการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ จริง ฐานความผิดดังกล่าวไม่อยู่ในอำนาจของคำสั่งหัวหน้า คสช. ไม่ว่าจะเป็นฉบับที่ 3/2558 หรือ13/2559 ที่จะให้เจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมและควบคุมตัวไว้ได้ นอกจากนี้ หากเป็นกรณีที่เป็นความผิดจากการโพสต์เฟซบุ๊ก ย่อมไม่ใช่การกระทำความผิดซึ่งหน้า ดังนั้น เจ้าหน้าที่ทหารไม่สามารถอ้างอำนาจคำสั่งหัวหน้า คสช. เพื่อใช้กับกรณีนี้ได้
.
อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา มีหลายกรณีที่เจ้าหน้าที่ใช้อำนาจโดยมิได้เป็นไปตามบทบัญญัติที่ให้อำนาจไว้ และกลับกลายเป็นคนที่ละเมิดมันเสียเอง
.
อีกทั้ง เมื่อเจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมโดยไม่มีหมายศาล ไม่มีการแจ้งข้อหา หรือการกระทำความผิด และไม่ให้สิทธิในการพบทนายความหรือติดต่อญาติ ไม่เปิดเผยสถานที่ควบคุมตัว สิ่งเหล่านี้ล้วนนำไปสู่ความเสี่ยงต่อการบังคับให้สูญหาย การซ้อมทรมาน และการเสียชีวิตในระหว่างการควบคุมตัว
.
รวมไปถึงการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรมโดยทหาร เช่น การข่มขู่ให้รับสารภาพระหว่างการควบคุมตัวในค่ายทหาร นอกจากนี้ กลไกต่างๆ ซึ่งต้องตรวจสอบถ่วงดุลก็ไม่สามารถทำงานได้อีก
.
สิ่งหนึ่งที่เกิดเป็นคำถามในสภาวะเช่นนี้ก็คือ "ประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่บรรยากาศเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ใช่หรือไม่"

-
Cr.iLaw


คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง - ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน

คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง
-
ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน......จินตนาการกันบ้างเถอะ ถ้าวันหนึ่ง ตัวคุณ/เพื่อนคุณ ลูกคุณ พ่อคุณ ถูกอุ้มหาย คุณจะรู้สึกอย่างไร?!

------------------------------------------------------------------------------------
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยง "อันตราย" ที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้!.
-
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส ทำหน้าที่คล้ายบทบรรณาธิการ ที่แสดงจุดยืนของทีมงานไอลอว์ ในฐานะคนทำงานติดตามประเด็นต่างๆ

อ่านตอนใหม่ได้ที่ >> http://ilaw.or.th/node/4093]
.
ช่วงเช้าของวันนี้ (27 เมษายน 2559) มีรายงานผ่านโลกออนไลน์เป็นระยะว่า ประชาชนคนธรรมดาถูกจับกุมและพาตัวไปจากบ้านตั้งแต่เวลารุ่งเช้า อย่างน้อย 10 คน
.
โดยบุคคลที่ถูกจับตัวไป บางคนเป็นช่างภาพ บางคนเป็นเจ้าของกิจการ บ้างก็เป็นนักเขียน แต่สิ่งที่คล้ายกันในหมู่พวกเขาก็คือ "ความสนใจต่อเหตุการณ์บ้านเมือง"
.
แต่ท่ามกลางความสับสนของการใช้อำนาจจับกุมตัวบุคคลดังกล่าว ไอลอว์มีข้อสังเกตเกี่ยวกับเหตุผลและความชอบธรรมในอำนาจที่จะจับกุม ตรวจค้น ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน รวมไปถึงการควบคุมตัวในครั้งนี้ว่า มันมีปัญหาในแง่ "อำนาจที่ใช้กับฐานความผิดไม่สอดคล้องกัน"
.
กล่าวคือ การจับกุมและควบคุมตัวดังกล่าว หากเป็นการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ จริง ฐานความผิดดังกล่าวไม่อยู่ในอำนาจของคำสั่งหัวหน้า คสช. ไม่ว่าจะเป็นฉบับที่ 3/2558 หรือ13/2559 ที่จะให้เจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมและควบคุมตัวไว้ได้ นอกจากนี้ หากเป็นกรณีที่เป็นความผิดจากการโพสต์เฟซบุ๊ก ย่อมไม่ใช่การกระทำความผิดซึ่งหน้า ดังนั้น เจ้าหน้าที่ทหารไม่สามารถอ้างอำนาจคำสั่งหัวหน้า คสช. เพื่อใช้กับกรณีนี้ได้
.
อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา มีหลายกรณีที่เจ้าหน้าที่ใช้อำนาจโดยมิได้เป็นไปตามบทบัญญัติที่ให้อำนาจไว้ และกลับกลายเป็นคนที่ละเมิดมันเสียเอง
.
อีกทั้ง เมื่อเจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมโดยไม่มีหมายศาล ไม่มีการแจ้งข้อหา หรือการกระทำความผิด และไม่ให้สิทธิในการพบทนายความหรือติดต่อญาติ ไม่เปิดเผยสถานที่ควบคุมตัว สิ่งเหล่านี้ล้วนนำไปสู่ความเสี่ยงต่อการบังคับให้สูญหาย การซ้อมทรมาน และการเสียชีวิตในระหว่างการควบคุมตัว
.
รวมไปถึงการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรมโดยทหาร เช่น การข่มขู่ให้รับสารภาพระหว่างการควบคุมตัวในค่ายทหาร นอกจากนี้ กลไกต่างๆ ซึ่งต้องตรวจสอบถ่วงดุลก็ไม่สามารถทำงานได้อีก
.
สิ่งหนึ่งที่เกิดเป็นคำถามในสภาวะเช่นนี้ก็คือ "ประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่บรรยากาศเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ใช่หรือไม่"

-
Cr.iLaw


คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง - ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน

คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง
-
ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน......จินตนาการกันบ้างเถอะ ถ้าวันหนึ่ง ตัวคุณ/เพื่อนคุณ ลูกคุณ พ่อคุณ ถูกอุ้มหาย คุณจะรู้สึกอย่างไร?!

------------------------------------------------------------------------------------
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยง "อันตราย" ที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้!.
-
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส ทำหน้าที่คล้ายบทบรรณาธิการ ที่แสดงจุดยืนของทีมงานไอลอว์ ในฐานะคนทำงานติดตามประเด็นต่างๆ

อ่านตอนใหม่ได้ที่ >> http://ilaw.or.th/node/4093]
.
ช่วงเช้าของวันนี้ (27 เมษายน 2559) มีรายงานผ่านโลกออนไลน์เป็นระยะว่า ประชาชนคนธรรมดาถูกจับกุมและพาตัวไปจากบ้านตั้งแต่เวลารุ่งเช้า อย่างน้อย 10 คน
.
โดยบุคคลที่ถูกจับตัวไป บางคนเป็นช่างภาพ บางคนเป็นเจ้าของกิจการ บ้างก็เป็นนักเขียน แต่สิ่งที่คล้ายกันในหมู่พวกเขาก็คือ "ความสนใจต่อเหตุการณ์บ้านเมือง"
.
แต่ท่ามกลางความสับสนของการใช้อำนาจจับกุมตัวบุคคลดังกล่าว ไอลอว์มีข้อสังเกตเกี่ยวกับเหตุผลและความชอบธรรมในอำนาจที่จะจับกุม ตรวจค้น ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน รวมไปถึงการควบคุมตัวในครั้งนี้ว่า มันมีปัญหาในแง่ "อำนาจที่ใช้กับฐานความผิดไม่สอดคล้องกัน"
.
กล่าวคือ การจับกุมและควบคุมตัวดังกล่าว หากเป็นการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ จริง ฐานความผิดดังกล่าวไม่อยู่ในอำนาจของคำสั่งหัวหน้า คสช. ไม่ว่าจะเป็นฉบับที่ 3/2558 หรือ13/2559 ที่จะให้เจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมและควบคุมตัวไว้ได้ นอกจากนี้ หากเป็นกรณีที่เป็นความผิดจากการโพสต์เฟซบุ๊ก ย่อมไม่ใช่การกระทำความผิดซึ่งหน้า ดังนั้น เจ้าหน้าที่ทหารไม่สามารถอ้างอำนาจคำสั่งหัวหน้า คสช. เพื่อใช้กับกรณีนี้ได้
.
อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา มีหลายกรณีที่เจ้าหน้าที่ใช้อำนาจโดยมิได้เป็นไปตามบทบัญญัติที่ให้อำนาจไว้ และกลับกลายเป็นคนที่ละเมิดมันเสียเอง
.
อีกทั้ง เมื่อเจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมโดยไม่มีหมายศาล ไม่มีการแจ้งข้อหา หรือการกระทำความผิด และไม่ให้สิทธิในการพบทนายความหรือติดต่อญาติ ไม่เปิดเผยสถานที่ควบคุมตัว สิ่งเหล่านี้ล้วนนำไปสู่ความเสี่ยงต่อการบังคับให้สูญหาย การซ้อมทรมาน และการเสียชีวิตในระหว่างการควบคุมตัว
.
รวมไปถึงการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรมโดยทหาร เช่น การข่มขู่ให้รับสารภาพระหว่างการควบคุมตัวในค่ายทหาร นอกจากนี้ กลไกต่างๆ ซึ่งต้องตรวจสอบถ่วงดุลก็ไม่สามารถทำงานได้อีก
.
สิ่งหนึ่งที่เกิดเป็นคำถามในสภาวะเช่นนี้ก็คือ "ประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่บรรยากาศเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ใช่หรือไม่"

-
Cr.iLaw


ประชาชน ห้ามงง ห้ามสงสัย

ประชาชน ห้ามงง ห้ามสงสัย
ก็แฟร์เพลย์ นี่ไง ไม่เห็นหรือ?
อย่ามาเรียก ร่ำร้อง ต้องหืออือ
ถ้าใครดื้อ เดี๋ยวบังคับ จับเข้ากรง....
.
ใครคิดมา สอดแนม อย่าแหยมเสือก
มีตัวเลือก เต็มกะลา พาลุ่มหลง
สาวกโง่ ก็เงียบฉี่ ไม่มีงง
ล้านพิษสง ก็น้อมรับ กับชะตา....
.
วิปริต คิดชั่ว กลัวจนสั่น
ไล่ปิดกั้น คนคิดต่าง อย่างด้านหนา
เผยทาสแท้ เกมยึดยื้อ ซื้อเวลา
เพื่อจะเหยียบ หัวบ่า ประชาชน....
.
๓ บลา


ประชาชน ห้ามงง ห้ามสงสัย

ประชาชน ห้ามงง ห้ามสงสัย
ก็แฟร์เพลย์ นี่ไง ไม่เห็นหรือ?
อย่ามาเรียก ร่ำร้อง ต้องหืออือ
ถ้าใครดื้อ เดี๋ยวบังคับ จับเข้ากรง....
.
ใครคิดมา สอดแนม อย่าแหยมเสือก
มีตัวเลือก เต็มกะลา พาลุ่มหลง
สาวกโง่ ก็เงียบฉี่ ไม่มีงง
ล้านพิษสง ก็น้อมรับ กับชะตา....
.
วิปริต คิดชั่ว กลัวจนสั่น
ไล่ปิดกั้น คนคิดต่าง อย่างด้านหนา
เผยทาสแท้ เกมยึดยื้อ ซื้อเวลา
เพื่อจะเหยียบ หัวบ่า ประชาชน....
.
๓ บลา


ประชาชน ห้ามงง ห้ามสงสัย

ประชาชน ห้ามงง ห้ามสงสัย
ก็แฟร์เพลย์ นี่ไง ไม่เห็นหรือ?
อย่ามาเรียก ร่ำร้อง ต้องหืออือ
ถ้าใครดื้อ เดี๋ยวบังคับ จับเข้ากรง....
.
ใครคิดมา สอดแนม อย่าแหยมเสือก
มีตัวเลือก เต็มกะลา พาลุ่มหลง
สาวกโง่ ก็เงียบฉี่ ไม่มีงง
ล้านพิษสง ก็น้อมรับ กับชะตา....
.
วิปริต คิดชั่ว กลัวจนสั่น
ไล่ปิดกั้น คนคิดต่าง อย่างด้านหนา
เผยทาสแท้ เกมยึดยื้อ ซื้อเวลา
เพื่อจะเหยียบ หัวบ่า ประชาชน....
.
๓ บลา


เหตุที่พระพุทธศาสนาเสื่อมสูญจากอินเดีย


เหตุที่พระพุทธศาสนาเสื่อมสูญจากอินเดีย
...........................
พระพุทธศาสนาที่เคยเจริญรุ่งเรืองในอินเดียจนถึงขีดสุด แต่กลับต้องล่มสลายลง ด้วยเหตุปัจจัยหลักๆคือ



1.คณะสงฆ์และชาวพุทธเริ่มอ่อนแอ ขาดความสามัคคี ไม่มีความเป็นเอกภาพ มุ่งแต่เรื่องส่วนตัว แต่เรื่องส่วนรวม ต่างวางอุเบกขา
2.ถูกกลืนจากต่างศาสนาคือฮินดู
3.ภาครัฐหรือกองทัพไม่ปกป้องสนับสนุน จนถูกรุกรานจากต่างศาสนาคือ มุสลิม บุกเผาทำลายวัดวาอารามต่างๆ ไม่เว้นแม้แต่มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทา ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดในยุคนั้น ใช้เวลาเผานานนับเดือน อีกทั้งยังบุกฆ่าพระสงฆ์นับหมื่นรูป

เมื่อพระสงฆ์ซึ่งเป็นศูนย์รวมทางจิตใจ ถูกกำจัด ที่มีชีวิตอยู่ก็ถูกกลืนจากต่างศาสนาและหนีออกนอกประเทศ พระพุทธศาสนาจึงล่มสลายไปในที่สุด

ในปัจจุบันจะเห็นว่า ภัยศาสนาดังที่กล่าวมา ได้เกิดขึ้นแล้วในประเทศไทย เพียงแต่รูปแบบได้เปลี่ยนไปตามยุคสมัยเช่น
-ให้คนของต่างศาสนาเข้ามามีอำนาจในการแก้ใขข้อกฏหมาย เพื่อลิดรอนสิทธิ์ชาวพุทธ
-อนุญาติและสนับสนุนให้มีมัสยิดได้ในทุกจังหวัด แม้เขตป่าสงวนเช่นภูเกตุ ส่วนสำนักสงฆ์ในป่าต้องถูกรื้อทำลาย
-ให้เงินสนับสนุนมุสลิมแต่ตัดเงินเกื้อหนุนพระสงฆ์ไทย
 -ขัดขวางการทำกิจกรรมทางพุทธศาสนา เช่นงานตักบาตร
-ขัดขวางการเผยแพร่ธรรมะทุกรูปแบบ เช่นสั่งระงับวิทยุเสียงธรรม ของหลวงตามหาบัว
ฯลฯ

ดังนั้น เราชาวพุทธ หากเอาแต่นิ่งดูดาย อาจสายเกินไป ต้องรวมใจเป็นหนึ่งเดียว ช่วยกันปกป้องพระพุทธศาสนา ก่อนที่จะกลายเป็นแค่ตำนานเมืองพุทธ โดยยึดคติที่ว่า

"เรื่องส่วนตัว ให้วางอุเบกขา 
เรื่องพระศาสนา ให้เอาอุเบกขาวาง"

อย่างนี้ จึงจะถือว่า ได้ทำหน้าที่ของชาวพุทธที่แท้จริง 
...............................