PPD's Official Website

Saturday, April 2, 2016

จะเป็นไทต้องไม่มีในหลวง

จะเป็นไทต้องไม่มีในหลวง 
ไฟเย็นพบลุงสนามหลวง  เรื่องหลักการหรือต้นตอของปัญหา มิใช่การไปลงประชามติหรือไม่อย่างไร แต่เป็นเรื่องของระบอบการปกครองเผด็จการที่มีกษัตริย์เป็นแกนกลาง

จะเป็นไทต้องไม่มีในหลวง

จะเป็นไทต้องไม่มีในหลวง 
ไฟเย็นพบลุงสนามหลวง  เรื่องหลักการหรือต้นตอของปัญหา มิใช่การไปลงประชามติหรือไม่อย่างไร แต่เป็นเรื่องของระบอบการปกครองเผด็จการที่มีกษัตริย์เป็นแกนกลาง

ทรราช คสช. อ่อนไหวถึงขนาด “เพ้อฝัน” และมองข้ามสภาพความเป็นจริง

กรณี ศึกษาจีน รถไฟ ความเร็วสูง น้ำ จากแม่โขง

ไม่ว่าปัญหาว่าด้วยรถไฟ "ความเร็วสูง"

ไม่ว่าปัญหาว่าด้วยภาวะแล้งและผลสะเทือนส่วนหนึ่งจาก "เขื่อน" ในแม่น้ำโขงตอนบน

ทุกสายตามองไปยัง "จีน"

เพราะว่าแนวคิดในเรื่องรถไฟ "ความเร็วสูง" มีจุดเริ่มจากการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟจากลาว เส้นทางรถไฟจากคุนหมิง

โดยมี "ต้นทาง" อยู่ที่ "จีน"

เพราะว่าปัญหาว่าด้วยภาวะภัยแล้ง ส่วนหนึ่งมีผลสะเทือนจากเขื่อนในแม่น้ำโขงตอนบน และบังเอิญที่มีการเปิดเขื่อนในห้วงแห่งการประชุม 5 ชาติแม่น้ำโขงที่เกาะไหหลำ

โดยมี "ต้นทาง" อยู่ที่ "จีน"

ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริง ด้านหลักของปัญหา "ภัยแล้ง" เป็นเรื่องอันเกิดขึ้นภายในไม่ว่าจะเป็นที่ลาว ที่ไทย ที่กัมพูชา หรือที่เวียดนาม

โดยมี "จีน" เป็นเพียง "องค์ประกอบ" 1

ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริง ด้านหลักของโครงการรถไฟ "ความเร็วสูง" เป็นความริเริ่มโดยตรงของไทยหรือแม้กระทั่งของลาว โดยมีจีนเป็นเพียงองค์ประกอบ 1 ในองค์ประกอบใหญ่

ความอ่อนไหวทั้งหมดจึงมาจาก "ปัจจัยภายใน"

เป็นความจริงที่แรงผลักดันอย่างสำคัญในเรื่องรถไฟ "ความเร็วสูง" มาจากยุทธศาสตร์ใหญ่ของจีนในการเปิด "เส้นทางสายไหม" ยุคใหม่

เป็นพัฒนาการและความต่อเนื่องจาก "ยุคเจิ้งเหอ" ในราชวงศ์ "หมิง"

กระนั้น ภาวะแปรปรวน พลิกผัน ต้องยอมรับว่าเกิดจากปัญหาและความขัดแย้ง "ภายใน" ของสังคมประเทศไทยเราเองอย่างเป็นด้านหลัก

จากยุค นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ถึงยุค นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ในยุคของ นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ จำกัดกรอบแห่งงบประมาณอยู่ที่ 2.2 ล้านล้านบาท แต่ไม่ว่าเอ่ยปากอะไรออกมาล้วนถูกคัดค้าน ต่อต้าน

ไม่เพียงแต่เสียงคัดค้านอันมาจาก "พรรคประชาธิปัตย์"

หากกระบวนการของการต่อต้านบานปลายและขยายไปยัง "องค์กรอิสระ" กระทั่ง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ก็เข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญ

จำ "ยอดคำเท่" ว่าด้วย "ถนนลูกรัง" ได้หรือไม่

ความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งอยู่ตรงที่เมื่อถึงยุค นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ กระบวนการคัดค้านต่อต้านเดิม หายไปจนหมดสิ้น หลายคนได้รับการปูนบำเหน็จรางวัลทางการเมือง บางคนนั่งอยู่ในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ

รถไฟ "ความเร็วสูง" จึงเป็นกระจกอย่างดีในทาง "การเมือง"

รัฐประหารเมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 ไม่เพียงแต่ทำให้เรื่องเลวๆ ในยุคของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร กลับเป็นเรื่องดีๆ หากแต่ยังทำให้โฉมหน้าคนดีปรากฏอย่างโจ่งแจ้ง

คนดีๆ เหล่านี้แหละที่ทำให้ภาพของ "จีน" บิดเบี้ยว แปรเปลี่ยน

ไม่ว่าเรื่องเขื่อนในแม่น้ำโขง ไม่ว่าเรื่องรถไฟความเร็วสูง จีนดำรงจุดมุ่งหมายและสะท้อนความเป็นตัวตนของตนไม่แปรเปลี่ยน

นั่นก็คือ ยืนอยู่บน "ผลประโยชน์" จีนด้วยความ "มั่นแน่ว"

มีแต่ไทยเราต่างหากที่เกิดการแปรเปลี่ยน พลิกกลับไป พลิกกลับมา เพราะความอ่อนไหวในความรู้สึกต่อจีน

เมื่อหงุดหงิดจาก "อเมริกา" ก็ผวาเข้าหา "จีน"

อ่อนไหวถึงขนาด "เพ้อฝัน" ว่าจีนจะเข้ามาลงทุนด้วยเงินของตนเองในโครงการรถไฟความเร็วสูงเพื่อมอบให้กับไทย

เป็นการให้ฟรีๆ ด้วยน้ำใจอันใหญ่หลวงของ "พี่ใหญ่"

อ่อนไหวถึงขนาด "เพ้อฝัน" และมองข้ามสภาพความเป็นจริงที่จีนมีการสร้างเขื่อนตอนต้นของแม่น้ำโขงมากกว่า 5 เขื่อน

จีนนั้นไม่มีอะไร "เปลี่ยน" ไทยต่างหากเล่าที่ "เปลี่ยน"

จีนนั้นเป็นตัวของตัวเองอย่างยิ่ง ไทยต่างหากเล่าที่ไม่เป็นตัวของตัวเอง

ผู้นำจีนจากยุคของ "เหมาเจ๋อตุง" กระทั่งยุคของ "เติ้งเสี่ยวผิง" มีความเชื่ออย่างหนึ่งในทาง "ความคิด"

นั่นก็คือ ทุกอย่างต้องเริ่มต้นจาก "ความเป็นจริง" และความเป็นจริงนั้นดำเนินการค้นหาจากหลักคิดที่ว่า "หาสัจจะจากความเป็นจริง" ถอดนามธรรมออกมาเป็นรูปธรรมให้จงได้

ความจริงนี้ของจีนไม่ว่าเมื่อ 50 ปีก่อนหรือปัจจุบันไม่เคยเปลี่ยน
-

ทรราช คสช. อ่อนไหวถึงขนาด “เพ้อฝัน” และมองข้ามสภาพความเป็นจริง

กรณี ศึกษาจีน รถไฟ ความเร็วสูง น้ำ จากแม่โขง

ไม่ว่าปัญหาว่าด้วยรถไฟ "ความเร็วสูง"

ไม่ว่าปัญหาว่าด้วยภาวะแล้งและผลสะเทือนส่วนหนึ่งจาก "เขื่อน" ในแม่น้ำโขงตอนบน

ทุกสายตามองไปยัง "จีน"

เพราะว่าแนวคิดในเรื่องรถไฟ "ความเร็วสูง" มีจุดเริ่มจากการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟจากลาว เส้นทางรถไฟจากคุนหมิง

โดยมี "ต้นทาง" อยู่ที่ "จีน"

เพราะว่าปัญหาว่าด้วยภาวะภัยแล้ง ส่วนหนึ่งมีผลสะเทือนจากเขื่อนในแม่น้ำโขงตอนบน และบังเอิญที่มีการเปิดเขื่อนในห้วงแห่งการประชุม 5 ชาติแม่น้ำโขงที่เกาะไหหลำ

โดยมี "ต้นทาง" อยู่ที่ "จีน"

ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริง ด้านหลักของปัญหา "ภัยแล้ง" เป็นเรื่องอันเกิดขึ้นภายในไม่ว่าจะเป็นที่ลาว ที่ไทย ที่กัมพูชา หรือที่เวียดนาม

โดยมี "จีน" เป็นเพียง "องค์ประกอบ" 1

ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริง ด้านหลักของโครงการรถไฟ "ความเร็วสูง" เป็นความริเริ่มโดยตรงของไทยหรือแม้กระทั่งของลาว โดยมีจีนเป็นเพียงองค์ประกอบ 1 ในองค์ประกอบใหญ่

ความอ่อนไหวทั้งหมดจึงมาจาก "ปัจจัยภายใน"

เป็นความจริงที่แรงผลักดันอย่างสำคัญในเรื่องรถไฟ "ความเร็วสูง" มาจากยุทธศาสตร์ใหญ่ของจีนในการเปิด "เส้นทางสายไหม" ยุคใหม่

เป็นพัฒนาการและความต่อเนื่องจาก "ยุคเจิ้งเหอ" ในราชวงศ์ "หมิง"

กระนั้น ภาวะแปรปรวน พลิกผัน ต้องยอมรับว่าเกิดจากปัญหาและความขัดแย้ง "ภายใน" ของสังคมประเทศไทยเราเองอย่างเป็นด้านหลัก

จากยุค นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ถึงยุค นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ในยุคของ นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ จำกัดกรอบแห่งงบประมาณอยู่ที่ 2.2 ล้านล้านบาท แต่ไม่ว่าเอ่ยปากอะไรออกมาล้วนถูกคัดค้าน ต่อต้าน

ไม่เพียงแต่เสียงคัดค้านอันมาจาก "พรรคประชาธิปัตย์"

หากกระบวนการของการต่อต้านบานปลายและขยายไปยัง "องค์กรอิสระ" กระทั่ง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ก็เข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญ

จำ "ยอดคำเท่" ว่าด้วย "ถนนลูกรัง" ได้หรือไม่

ความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งอยู่ตรงที่เมื่อถึงยุค นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ กระบวนการคัดค้านต่อต้านเดิม หายไปจนหมดสิ้น หลายคนได้รับการปูนบำเหน็จรางวัลทางการเมือง บางคนนั่งอยู่ในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ

รถไฟ "ความเร็วสูง" จึงเป็นกระจกอย่างดีในทาง "การเมือง"

รัฐประหารเมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 ไม่เพียงแต่ทำให้เรื่องเลวๆ ในยุคของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร กลับเป็นเรื่องดีๆ หากแต่ยังทำให้โฉมหน้าคนดีปรากฏอย่างโจ่งแจ้ง

คนดีๆ เหล่านี้แหละที่ทำให้ภาพของ "จีน" บิดเบี้ยว แปรเปลี่ยน

ไม่ว่าเรื่องเขื่อนในแม่น้ำโขง ไม่ว่าเรื่องรถไฟความเร็วสูง จีนดำรงจุดมุ่งหมายและสะท้อนความเป็นตัวตนของตนไม่แปรเปลี่ยน

นั่นก็คือ ยืนอยู่บน "ผลประโยชน์" จีนด้วยความ "มั่นแน่ว"

มีแต่ไทยเราต่างหากที่เกิดการแปรเปลี่ยน พลิกกลับไป พลิกกลับมา เพราะความอ่อนไหวในความรู้สึกต่อจีน

เมื่อหงุดหงิดจาก "อเมริกา" ก็ผวาเข้าหา "จีน"

อ่อนไหวถึงขนาด "เพ้อฝัน" ว่าจีนจะเข้ามาลงทุนด้วยเงินของตนเองในโครงการรถไฟความเร็วสูงเพื่อมอบให้กับไทย

เป็นการให้ฟรีๆ ด้วยน้ำใจอันใหญ่หลวงของ "พี่ใหญ่"

อ่อนไหวถึงขนาด "เพ้อฝัน" และมองข้ามสภาพความเป็นจริงที่จีนมีการสร้างเขื่อนตอนต้นของแม่น้ำโขงมากกว่า 5 เขื่อน

จีนนั้นไม่มีอะไร "เปลี่ยน" ไทยต่างหากเล่าที่ "เปลี่ยน"

จีนนั้นเป็นตัวของตัวเองอย่างยิ่ง ไทยต่างหากเล่าที่ไม่เป็นตัวของตัวเอง

ผู้นำจีนจากยุคของ "เหมาเจ๋อตุง" กระทั่งยุคของ "เติ้งเสี่ยวผิง" มีความเชื่ออย่างหนึ่งในทาง "ความคิด"

นั่นก็คือ ทุกอย่างต้องเริ่มต้นจาก "ความเป็นจริง" และความเป็นจริงนั้นดำเนินการค้นหาจากหลักคิดที่ว่า "หาสัจจะจากความเป็นจริง" ถอดนามธรรมออกมาเป็นรูปธรรมให้จงได้

ความจริงนี้ของจีนไม่ว่าเมื่อ 50 ปีก่อนหรือปัจจุบันไม่เคยเปลี่ยน
-

ทรราช คสช. อ่อนไหวถึงขนาด “เพ้อฝัน” และมองข้ามสภาพความเป็นจริง

กรณี ศึกษาจีน รถไฟ ความเร็วสูง น้ำ จากแม่โขง

ไม่ว่าปัญหาว่าด้วยรถไฟ "ความเร็วสูง"

ไม่ว่าปัญหาว่าด้วยภาวะแล้งและผลสะเทือนส่วนหนึ่งจาก "เขื่อน" ในแม่น้ำโขงตอนบน

ทุกสายตามองไปยัง "จีน"

เพราะว่าแนวคิดในเรื่องรถไฟ "ความเร็วสูง" มีจุดเริ่มจากการเชื่อมต่อเส้นทางรถไฟจากลาว เส้นทางรถไฟจากคุนหมิง

โดยมี "ต้นทาง" อยู่ที่ "จีน"

เพราะว่าปัญหาว่าด้วยภาวะภัยแล้ง ส่วนหนึ่งมีผลสะเทือนจากเขื่อนในแม่น้ำโขงตอนบน และบังเอิญที่มีการเปิดเขื่อนในห้วงแห่งการประชุม 5 ชาติแม่น้ำโขงที่เกาะไหหลำ

โดยมี "ต้นทาง" อยู่ที่ "จีน"

ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริง ด้านหลักของปัญหา "ภัยแล้ง" เป็นเรื่องอันเกิดขึ้นภายในไม่ว่าจะเป็นที่ลาว ที่ไทย ที่กัมพูชา หรือที่เวียดนาม

โดยมี "จีน" เป็นเพียง "องค์ประกอบ" 1

ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริง ด้านหลักของโครงการรถไฟ "ความเร็วสูง" เป็นความริเริ่มโดยตรงของไทยหรือแม้กระทั่งของลาว โดยมีจีนเป็นเพียงองค์ประกอบ 1 ในองค์ประกอบใหญ่

ความอ่อนไหวทั้งหมดจึงมาจาก "ปัจจัยภายใน"

เป็นความจริงที่แรงผลักดันอย่างสำคัญในเรื่องรถไฟ "ความเร็วสูง" มาจากยุทธศาสตร์ใหญ่ของจีนในการเปิด "เส้นทางสายไหม" ยุคใหม่

เป็นพัฒนาการและความต่อเนื่องจาก "ยุคเจิ้งเหอ" ในราชวงศ์ "หมิง"

กระนั้น ภาวะแปรปรวน พลิกผัน ต้องยอมรับว่าเกิดจากปัญหาและความขัดแย้ง "ภายใน" ของสังคมประเทศไทยเราเองอย่างเป็นด้านหลัก

จากยุค นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ถึงยุค นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ในยุคของ นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ จำกัดกรอบแห่งงบประมาณอยู่ที่ 2.2 ล้านล้านบาท แต่ไม่ว่าเอ่ยปากอะไรออกมาล้วนถูกคัดค้าน ต่อต้าน

ไม่เพียงแต่เสียงคัดค้านอันมาจาก "พรรคประชาธิปัตย์"

หากกระบวนการของการต่อต้านบานปลายและขยายไปยัง "องค์กรอิสระ" กระทั่ง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ก็เข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญ

จำ "ยอดคำเท่" ว่าด้วย "ถนนลูกรัง" ได้หรือไม่

ความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งอยู่ตรงที่เมื่อถึงยุค นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ กระบวนการคัดค้านต่อต้านเดิม หายไปจนหมดสิ้น หลายคนได้รับการปูนบำเหน็จรางวัลทางการเมือง บางคนนั่งอยู่ในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ

รถไฟ "ความเร็วสูง" จึงเป็นกระจกอย่างดีในทาง "การเมือง"

รัฐประหารเมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 ไม่เพียงแต่ทำให้เรื่องเลวๆ ในยุคของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร กลับเป็นเรื่องดีๆ หากแต่ยังทำให้โฉมหน้าคนดีปรากฏอย่างโจ่งแจ้ง

คนดีๆ เหล่านี้แหละที่ทำให้ภาพของ "จีน" บิดเบี้ยว แปรเปลี่ยน

ไม่ว่าเรื่องเขื่อนในแม่น้ำโขง ไม่ว่าเรื่องรถไฟความเร็วสูง จีนดำรงจุดมุ่งหมายและสะท้อนความเป็นตัวตนของตนไม่แปรเปลี่ยน

นั่นก็คือ ยืนอยู่บน "ผลประโยชน์" จีนด้วยความ "มั่นแน่ว"

มีแต่ไทยเราต่างหากที่เกิดการแปรเปลี่ยน พลิกกลับไป พลิกกลับมา เพราะความอ่อนไหวในความรู้สึกต่อจีน

เมื่อหงุดหงิดจาก "อเมริกา" ก็ผวาเข้าหา "จีน"

อ่อนไหวถึงขนาด "เพ้อฝัน" ว่าจีนจะเข้ามาลงทุนด้วยเงินของตนเองในโครงการรถไฟความเร็วสูงเพื่อมอบให้กับไทย

เป็นการให้ฟรีๆ ด้วยน้ำใจอันใหญ่หลวงของ "พี่ใหญ่"

อ่อนไหวถึงขนาด "เพ้อฝัน" และมองข้ามสภาพความเป็นจริงที่จีนมีการสร้างเขื่อนตอนต้นของแม่น้ำโขงมากกว่า 5 เขื่อน

จีนนั้นไม่มีอะไร "เปลี่ยน" ไทยต่างหากเล่าที่ "เปลี่ยน"

จีนนั้นเป็นตัวของตัวเองอย่างยิ่ง ไทยต่างหากเล่าที่ไม่เป็นตัวของตัวเอง

ผู้นำจีนจากยุคของ "เหมาเจ๋อตุง" กระทั่งยุคของ "เติ้งเสี่ยวผิง" มีความเชื่ออย่างหนึ่งในทาง "ความคิด"

นั่นก็คือ ทุกอย่างต้องเริ่มต้นจาก "ความเป็นจริง" และความเป็นจริงนั้นดำเนินการค้นหาจากหลักคิดที่ว่า "หาสัจจะจากความเป็นจริง" ถอดนามธรรมออกมาเป็นรูปธรรมให้จงได้

ความจริงนี้ของจีนไม่ว่าเมื่อ 50 ปีก่อนหรือปัจจุบันไม่เคยเปลี่ยน
-

สมุนทรราช กรธ.ไม่ ‘ขัดใจ’ ยกให้ ทรราช คสช. ลากตั้ง ส.ว. 250 คนเอง

สมุนทรราช กรธ.ไม่ 'ขัดใจ' ยกให้ ทรราช คสช. ลากตั้ง ส.ว. 250 คนเอง

——————————–

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนลงประชามติ ได้เพิ่มเติมบทเฉพาะกาล กำหนดให้สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ในวาระเริ่มแรกมี 250 คน มาจาการคัดลือกของคณะรักษาความสงบแห่งชาติเกือบทั้งหมด และมี ส.ว.โดยตำแหน่งที่เป็นผู้บัญชาการเหล่าทัพต่างๆ 6 คน ด้วยเหตุว่าจะเข้ามาประคับประคองประเทศไทยในช่วงเปลี่ยนผ่าน 5 ปี

เรื่องที่เป็นประเด็นร้อนและมีการถกเถียงของสังคม ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนลงประชามติ คงหนีไม่พ้นที่มาของสมาชิกวุฒิสภา 250 คน ในวาระแรกเริ่ม ที่มาจากข้อเสนอของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ว่า

"ในช่วงเวลาหัวเลี้ยวหัวต่อที่เริ่มจัดระเบียบทางการเมืองใหม่ ควรให้ ส.ว. ชุดแรกมาจากการคัดสรร หรือแต่งตั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าจะได้ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถ ปลอดจากพรรคการเมือง สามารถสร้างความเชื่อมั่นแก่ประชาชน ช่วยประคับประคองความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ดูแลการขับเคลื่อนการปฏิรูป และการสร้างความสามัคคีปรองดองร่วมกับสภาผู้แทนราษฎร

ด้านคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ก็ตอบสนองข้อเสนอนี้ โดยกำหนดในบทเฉพาะกาล มาตรา 269 สรุปได้ว่า

ในวาระเริ่มแรก ให้ ส.ว. ประกอบด้วยสมาชิก 250 คน โดยให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาที่มีความรู้ ประสบการณ์ด้านต่างๆ เป็นกลางทางการเมือง 9-12 คน ทำหน้าที่สรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมที่จะดำรงตำแหน่ง ส.ว. จำนวนไม่เกิน 400 คน เพื่อให้ คสช. คัดเลือกให้เหลือ 194 คน และคัดชื่อสำรองอีก 50 คน

อีกส่วนหนึ่ง มาจากผู้ที่เป็น ส.ว.โดยตำแหน่ง 6 คน ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

และส่วนสุดท้ายได้จากการที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ดำเนินการจัดให้มีการเลือก ส.ว. โดยให้ผู้มีความรู้ ประสบการณ์หลายด้าน กลุ่มวิชาชีพ หรือกลุ่มผลประโยชน์ เลือกกันเองให้ได้ 200 คน แล้วนำรายชื่อให้ คสช. เลือกให้เหลือ 50 คน และคัดชื่อสำรองไว้อีก 50 คน จากที่มาสามทางนี้ก็จะได้ ส.ว.ครบ 250 คนพอดี

ส.ว.ชุดนี้จะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี มีอำนาจหน้าที่ติดตาม เสนอแนะ เร่งรัดการปฏิรูปประเทศ จัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ดูแลกฎหมายที่จะกระทบต่อการดำเนินการกระบวนการยุติธรรม

ทำไมต้องมี ส.ว.สรรหา 250 คน?

เป็นคำถามที่ผู้สื่อข่าวถาม มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธาน กรธ. หลังการแถลงเปิดตัวร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ มีชัยตอบว่าเดิม คสช.ขอมาให้มี ส.ว.สรรหาเลยทั้ง 250 คน แต่ กรธ.ขอว่าให้ คสช. เลือกมา 200 คนก็พอ ส่วนอีก 50 คน ให้มาทดลองระบบใหม่ โดยให้มีการเลือกกันทั้งประเทศ เหลือ 200 คน แล้วให้ คสช. เลือกเหลือ 50 คน

มีชัยกล่าวต่อไปว่า ถ้าถามว่าทำไม กรธ. จึงยอมใส่เรื่องนี้ในร่างรัฐธรรมนูญ ก็เพราะ คสช. ให้เหตุผลมาว่า

ความเรียบร้อยทั้งหลายที่ คสช. เคยมุ่งหมายไว้ยังไม่ดี

การปฏิรูปก็ยังไม่ครบถ้วน จึงอยากทำต่อ แต่ไม่สามารถให้ตัวเองทำได้ จึงควรให้ ส.ว. คอยเร่งรัด ตรวจสอบ ท้วงติง การปฏิรูปต่างๆ เพื่อพัฒนาประเทศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติส่วนรวม

เทียบข้อเสนอเดิมของ คสช. แทบไม่ต่าง แค่ตัดอำนาจอภิปรายไม่ไว้วางใจออก

เมื่อย้อนดูข้อเสนอของ คสช. ก่อนที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะเผยโฉม จะเห็นว่า แทบไม่มีความแตกต่างจากเดิมเลย เพียงแต่มีการลงรายละเอียดในส่วนของที่มา ส.ว. ให้ชัดเจนขึ้น และตัดอำนาจในการอภิปรายไม่ไว้วางใจออกไป เรียกว่า กรธ. รับเอาข้อเสนอของ คสช. มาเต็มๆ

คสช. เสนอว่า ส.ว. มีวาระ 5 ปี ควรมีจำนวนกึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรหรือ 250 คน มาจากการสรรหาของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นอิสระและกลาง 8-10 คน และให้มี ส.ว.โดยตำแหน่ง 6 คน ซึ่งจะเป็นหลักประกันด้านความมั่นคงแห่งชาติ ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

ส่วนอำนาจหน้าที่ของ ส.ว. คสช. เสนอว่า ไม่มีอำนาจหน้าที่เลือกหรือกำหนดตัวนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี แต่ควรให้มีอำนาจหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ ดูแลการขับเคลื่อนการปฏิรูปและยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจหรืออื่น ๆ ตามกติการะบบรัฐสภาและกระบวนการยุติธรรมในระหว่างช่วงการเปลี่ยนผ่านด้วย


Cr. โดย iLaw



สมุนทรราช กรธ.ไม่ ‘ขัดใจ’ ยกให้ ทรราช คสช. ลากตั้ง ส.ว. 250 คนเอง

สมุนทรราช กรธ.ไม่ 'ขัดใจ' ยกให้ ทรราช คสช. ลากตั้ง ส.ว. 250 คนเอง

——————————–

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนลงประชามติ ได้เพิ่มเติมบทเฉพาะกาล กำหนดให้สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ในวาระเริ่มแรกมี 250 คน มาจาการคัดลือกของคณะรักษาความสงบแห่งชาติเกือบทั้งหมด และมี ส.ว.โดยตำแหน่งที่เป็นผู้บัญชาการเหล่าทัพต่างๆ 6 คน ด้วยเหตุว่าจะเข้ามาประคับประคองประเทศไทยในช่วงเปลี่ยนผ่าน 5 ปี

เรื่องที่เป็นประเด็นร้อนและมีการถกเถียงของสังคม ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนลงประชามติ คงหนีไม่พ้นที่มาของสมาชิกวุฒิสภา 250 คน ในวาระแรกเริ่ม ที่มาจากข้อเสนอของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ว่า

"ในช่วงเวลาหัวเลี้ยวหัวต่อที่เริ่มจัดระเบียบทางการเมืองใหม่ ควรให้ ส.ว. ชุดแรกมาจากการคัดสรร หรือแต่งตั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าจะได้ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถ ปลอดจากพรรคการเมือง สามารถสร้างความเชื่อมั่นแก่ประชาชน ช่วยประคับประคองความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ดูแลการขับเคลื่อนการปฏิรูป และการสร้างความสามัคคีปรองดองร่วมกับสภาผู้แทนราษฎร

ด้านคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ก็ตอบสนองข้อเสนอนี้ โดยกำหนดในบทเฉพาะกาล มาตรา 269 สรุปได้ว่า

ในวาระเริ่มแรก ให้ ส.ว. ประกอบด้วยสมาชิก 250 คน โดยให้ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาที่มีความรู้ ประสบการณ์ด้านต่างๆ เป็นกลางทางการเมือง 9-12 คน ทำหน้าที่สรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมที่จะดำรงตำแหน่ง ส.ว. จำนวนไม่เกิน 400 คน เพื่อให้ คสช. คัดเลือกให้เหลือ 194 คน และคัดชื่อสำรองอีก 50 คน

อีกส่วนหนึ่ง มาจากผู้ที่เป็น ส.ว.โดยตำแหน่ง 6 คน ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

และส่วนสุดท้ายได้จากการที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ดำเนินการจัดให้มีการเลือก ส.ว. โดยให้ผู้มีความรู้ ประสบการณ์หลายด้าน กลุ่มวิชาชีพ หรือกลุ่มผลประโยชน์ เลือกกันเองให้ได้ 200 คน แล้วนำรายชื่อให้ คสช. เลือกให้เหลือ 50 คน และคัดชื่อสำรองไว้อีก 50 คน จากที่มาสามทางนี้ก็จะได้ ส.ว.ครบ 250 คนพอดี

ส.ว.ชุดนี้จะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี มีอำนาจหน้าที่ติดตาม เสนอแนะ เร่งรัดการปฏิรูปประเทศ จัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ดูแลกฎหมายที่จะกระทบต่อการดำเนินการกระบวนการยุติธรรม

ทำไมต้องมี ส.ว.สรรหา 250 คน?

เป็นคำถามที่ผู้สื่อข่าวถาม มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธาน กรธ. หลังการแถลงเปิดตัวร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ มีชัยตอบว่าเดิม คสช.ขอมาให้มี ส.ว.สรรหาเลยทั้ง 250 คน แต่ กรธ.ขอว่าให้ คสช. เลือกมา 200 คนก็พอ ส่วนอีก 50 คน ให้มาทดลองระบบใหม่ โดยให้มีการเลือกกันทั้งประเทศ เหลือ 200 คน แล้วให้ คสช. เลือกเหลือ 50 คน

มีชัยกล่าวต่อไปว่า ถ้าถามว่าทำไม กรธ. จึงยอมใส่เรื่องนี้ในร่างรัฐธรรมนูญ ก็เพราะ คสช. ให้เหตุผลมาว่า

ความเรียบร้อยทั้งหลายที่ คสช. เคยมุ่งหมายไว้ยังไม่ดี

การปฏิรูปก็ยังไม่ครบถ้วน จึงอยากทำต่อ แต่ไม่สามารถให้ตัวเองทำได้ จึงควรให้ ส.ว. คอยเร่งรัด ตรวจสอบ ท้วงติง การปฏิรูปต่างๆ เพื่อพัฒนาประเทศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติส่วนรวม

เทียบข้อเสนอเดิมของ คสช. แทบไม่ต่าง แค่ตัดอำนาจอภิปรายไม่ไว้วางใจออก

เมื่อย้อนดูข้อเสนอของ คสช. ก่อนที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะเผยโฉม จะเห็นว่า แทบไม่มีความแตกต่างจากเดิมเลย เพียงแต่มีการลงรายละเอียดในส่วนของที่มา ส.ว. ให้ชัดเจนขึ้น และตัดอำนาจในการอภิปรายไม่ไว้วางใจออกไป เรียกว่า กรธ. รับเอาข้อเสนอของ คสช. มาเต็มๆ

คสช. เสนอว่า ส.ว. มีวาระ 5 ปี ควรมีจำนวนกึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรหรือ 250 คน มาจากการสรรหาของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นอิสระและกลาง 8-10 คน และให้มี ส.ว.โดยตำแหน่ง 6 คน ซึ่งจะเป็นหลักประกันด้านความมั่นคงแห่งชาติ ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

ส่วนอำนาจหน้าที่ของ ส.ว. คสช. เสนอว่า ไม่มีอำนาจหน้าที่เลือกหรือกำหนดตัวนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี แต่ควรให้มีอำนาจหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ ดูแลการขับเคลื่อนการปฏิรูปและยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจหรืออื่น ๆ ตามกติการะบบรัฐสภาและกระบวนการยุติธรรมในระหว่างช่วงการเปลี่ยนผ่านด้วย


Cr. โดย iLaw