PPD's Official Website

Thursday, April 30, 2015

ความเข้าใจใหม่ เกี่ยวกับ เซลล์มะเร็ง...ลองพิจารณานะครับ

ความเข้าใจใหม่ เกี่ยวกับ เซลล์มะเร็ง...ลองพิจารณานะครับ

เพื่อนจาก รพ จุฬาส่งมาให้ น่าสนใจมาก Shafin de Zane presents: What is Cancer?นี่คือ สิ่งที่คุณ ไม่เคยคาดคิด มาก่อนเ...

Posted by ดร. รุ่ง on Friday, March 13, 2015

ฟังคลิปท้ายสุด มองไกลของคุณจตุพร ด้วยความเข้าใจ แต่แทบอ้วก เมื่อถึงนาทีที่ 18


ฟังคุณจตุพร พรหมพันธุ์ คลิปสุดท้าย 30 เมษายน 2558 ด้วยความเห็นใจ...
พอรู้ว่า อันตรายรอบตัว เลยต้องป้องกันตัวเองด้วยวาทกรรมสมานฉันท์

แต่พอไปถึงนาทีที่  18 ผมแทบอ้วก.... ขออภัย แต่คุณไม่พูดได้ไหม
รักษาศักดิ์ศรีนักสู้วีรชนที่ได้รับกระสุนพระราชทานบ้างเถิด สหาย







ฟังคลิปท้ายสุด มองไกลของคุณจตุพร ด้วยความเข้าใจ แต่แทบอ้วก เมื่อถึงนาทีที่ 18


ฟังคลิปท้ายสุด มองไกลของคุณจตุพร ด้วยความเข้าใจ แต่แทบอ้วก เมื่อถึงนาทีที่ 18

ฟังคลิปท้ายสุด มองไกลของคุณจตุพร ด้วยความเข้าใจ แต่แทบอ้วก เมื่อถึงนาทีที่ 18


ฟังคุณจตุพร พรหมพันธุ์ คลิปสุดท้าย 30 เมษายน 2558 ด้วยความเห็นใจ...
พอรู้ว่า อันตรายรอบตัว เลยต้องป้องกันตัวเองด้วยวาทกรรมสมานฉันท์

แต่พอไปถึงนาทีที่  18 ผมแทบอ้วก.... ขออภัย แต่คุณไม่พูดได้ไหม
รักษาศักดิ์ศรีนักสู้วีรชนที่ได้รับกระสุนพระราชทานบ้างเถิด สหาย







ฟังคลิปท้ายสุด มองไกลของคุณจตุพร ด้วยความเข้าใจ แต่แทบอ้วก เมื่อถึงนาทีที่ 18


ฟังคลิปท้ายสุด มองไกลของคุณจตุพร ด้วยความเข้าใจ แต่แทบอ้วก เมื่อถึงนาทีที่ 18

คลิปสุดท้ายของ PEACE TV บทเรียนที่ท่านได้ คืออะไร?

Wednesday, April 29, 2015

สมยศ และ นักโทษ 112 กับ "ตรวนพระราชทาน"

สมยศ และ นักโทษ 112 กับ "ตรวนพระราชทาน"


ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง


สมยศ และ นักโทษ 112 กับ "ตรวนพระราชทาน"

สมยศ และ นักโทษ 112 กับ "ตรวนพระราชทาน"


ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง
ปล่อยสมยศ ปล่อยนักโทษการเมือง


ศาล ไม่ได้พิเศษเหนืออำนาจอื่นใด และเหนืออำนาจประชาชน ศาลต้องถูกตรวจสอบได้ (โดย อ.สถิตย์ ไพเราะ)

ศาล ไม่ได้พิเศษเหนืออำนาจอื่นใด และเหนืออำนาจประชาชน ศาลต้องถูกตรวจสอบได้ (โดย อ.สถิตย์ ไพเราะ)


ศาลตรวจสอบได้:  สถิตย์ ไพเราะ

พระบรมฉายาลักษณ์ที่ติดไว้ในห้องพิจารณาของศาลทุกแห่ง หมายถึงองค์พระมหากษัตริย์ หรือบุคลาธิฐานของอำนาจอธิปไตย ซึ่งเป็นของชนชาวไทย
ความคลุมเครือเช่นนี้ ลามไปถึงการแต่งกาย ท่านั่ง หรือคำพูดของผู้เข้าฟัง หรือล่ามในการพิจารณาคดีด้วย เช่น ห้ามแต่งกาย “ไม่เรียบร้อย” ห้ามนั่งไขว่ห้าง ฯลฯ ทำให้ไม่ชัดนักว่า ผู้เข้าฟังหรือร่วมในการพิจารณาคดีกำลัง “เข้าเฝ้า” หรือเพียงแต่อยู่ในห้องพิจารณาคดีของศาลในประเทศประชาธิปไตยกันแน่
ความ”ศักดิ์สิทธ์”ของศาลเพิ่งสร้างขึ้นไม่นานมานี้เอง หาได้เป็นมรดกตกทอดมาจากยุคโบราณไม่
แต่สร้างขึ้นเพื่อให้พ้นจากการถูกตรวจสอบ จึงเอาไปผูกไว้กับสถาบันพระมหากษัตริย์
ซึ่งย่อมอยู่พ้นไปจากการถูกตรวจสอบเช่นกัน
จริงหรือ
ผมว่าไม่จริง เพราะ
1. การถูกตรวจสอบ หมายความว่าอย่างไร หมายความว่าถูกติเตียน ถูกวิพากษ์วิจารณ์ ถูกนินทาไม่ได้เลยใช่หรือไม่ ถ้าใช่ คำกล่าวข้างบนนี้ก็ไม่จริงเพราะผู้พิพากษาหรือตุลาการทุกคนในศาลยุติธรรมย่อมรู้ว่าในคดีแพ่งนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 บัญญัติไว้ชัดเจนว่า คำสั่งของศาลคู่ความต้อง “โต้แย้ง” ได้ว่าผิดอย่างไร มิฉะนั้นจะอุทธรณ์ไม่ได้ ในกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 211 ก็บัญญัติว่า ในคำฟ้องอุทธรณ์คู่ความต้อง “คัดค้าน” ว่า คำพิพากษาของศาลชั้นต้น “ไม่ถูกต้อง” อย่างไร ถ้าไม่ “โต้แย้ง”หรือ”คัดค้าน” คำฟ้องอุทธรณ์(หรือฎีกา) เป็นคำฟ้องอุทธรณ์หรือฎีกาที่ไม่ชอบ ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้ เพราะฉะนั้นในคำฟ้องอุทธรณ์หรือคำฟ้องฎีกาผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมต้องอ่านหรือได้อ่าน คำ “โต้แย้ง” หรือ “คัดค้าน”อยู่ทุกวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์หรือศาลฏีกา ผู้พิพากษาที่อ่านคำฟ้องอุทธรณ์หรือคำฟ้องฎีกาดังกล่าวย่อมรู้สึกได้ว่า ศาลยุติธรรมไม่ได้พ้นจากการถูกตรวจสอบแต่อย่างใด เพราะกฎหมายได้กำหนดไว้ชัดเจนอย่างนั้น แต่ต้องเข้าใจว่าการตรวจสอบหรือการโต้แย้งคัดค้าน ดังกล่าวนี้เป็นคนละเรื่องกับการดูหมิ่นศาล ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 198 การโต้แย้งคัดค้านไม่ใช่การดูหมิ่นศาลอย่างแน่นอน ตัวอย่างเช่น เมื่อผมเป็นผู้พิพากษาศาลจังหวัดนครราชสีมา เมื่อพ.ศ.2513 มีคำฟ้องอุทธรณ์เรื่องหนึ่งทนายจำเลยเรียงอุทธรณ์คำพิพากษาของผมตอนหนึ่งว่า “พยานโจทก์อย่างนี้มีแต่เด็กที่ปากยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนมเท่านั้นที่จะเชื่อและลงโทษจำเลย” ถ้อยคำดังกล่าวนี้มีผู้พิพากษาบางท่านเห็นว่าเป็นคำกล่าวที่เป็นการ “ดูหมิ่น”ศาลไม่ควรรับอุทธรณ์ ควรสั่งให้ไปแก้ไขใหม่ และถ้าเป็นไปได้ควรแจ้งดำเนินคดีกับทนายความคนนั้นในข้อหา “ดูหมิ่นศาล” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา198ด้วย แต่ผมเห็นว่าเป็นเหตุผลที่ทนายจำเลยอ้างเพื่อประกอบการพิจารณาพิพากษาของศาลอุทธรณ์ เป็นเหตุที่ทนายจำเลยให้เพื่อ “คัดค้าน”คำพิพากษาของศาลชั้นต้น ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 211 ยังไม่ถึงขั้น “ดูหมิ่น”ศาล ผมจึงรับอุทธรณ์ของจำเลย ผมเห็นว่าต้อง “ตรวจสอบ” คำพิพากษาของศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ จึงไม่มีเหตุผลใดที่จะไปสร้างความศักดิ์สิทธิ์ เพื่อให้พ้นจากการตรวจสอบ โดยเอาไปผูกไว้กับสถาบันพระมหากษัตริย์ จึงย่อมอยู่พ้นไปจากการถูกตรวจสอบเช่นกัน
ตามที่บทความกล่าว เพราะตามกฎหมายและตามข้อเท็จจริงศาลยุติธรรมถูกตรวจสอบอยู่ทุกวันดังกราบเรียนข้างต้น



2.แล้วเหตุผลใด ผู้พิพากษาหรือศาลยุติธรรมจึงนำตนเองเข้าไปผูกไว้กับสถาบันพระมหากษัตริย์
ทำไปเพื่ออะไร
เหตุทำไปก็เพราะเห็นว่าสถาบันพระมหากษัตริย์นั้นยิ่งใหญ่ กฎหมายรัฐธรรมนูญบัญญัติว่าสถาบันพระมหากษัตริย์นั้น “อยู่ในฐานะที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้”คนที่ยังยึดติดอยู่กับอำนาจนิยม ยังยึดติดกับระบบเจ้าขุนมูลนายซึ่งเป็นระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ก็พร่ำเพ้ออยากจะอยู่ในฐานะเช่นนั้นบ้าง จึงพยายามอ้างเหตุผลต่างๆ เท่าที่จะหยิบฉวยได้มาแสดงแก่คนทั้งหลาย เมื่อผมเข้าอบรมเป็นผู้ช่วยผู้พิพากษารุ่น 11 เมื่อพ.ศ. 2511 บรรพตุลาการท่านหนึ่งท่านมีชื่อเสียงมาก มาเปิดอบรมและกล่าวอบรมตอนหนึ่งว่า “คุณต้องภูมิใจว่าคุณเป็นข้าราชการฝ่ายเดียวที่ทำใน “พระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์” แสดงว่าท่านผู้นั้นไปหยิบฉวยเอากฎหมายรัฐธรรมนูญที่บัญญัติว่า ผู้พิพากษาและตุลาการพิจารณาพิพากษาคดีใน “พระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์” ว่าเป็นบทบัญญัติ ”พิเศษ” ยกฐานะของผู้พิพากษาและตุลาการให้เป็นคนหรือข้าราชการฝ่าย “พิเศษ” ต่อมาก็มีการขยายความ ขยายเหตุผลต่อไปว่า ศาลเป็นตัวแทนของพระมหากษัตริย์ ซึ่งทำให้ผู้พิพากษาและตุลาการทั้งหลายคิดและพยายามให้คนอื่นคิดว่าผู้พิพากษาและตุลาการเป็นข้าราชการฝ่ายพิเศษจริงๆเพื่ออะไร ก็เพื่อสนอง ภวตัณหา
คือความอยากมี อยากเป็น อยากใหญ่ ซึ่งก็เป็นธรรมดาของคนที่เป็นคน ไม่ใช่พระที่เป็นพระ
และเมื่อยกรัฐธรรมนูญขึ้นอ้างเช่นนี้ก็เห็นว่าเป็นเหตุผลที่สมใจนึกของผู้พิพากษาและตุลาการทั้งหลาย และคนอื่นก็ไม่กล้าโต้แย้งด้วย คนที่ไม่รู้ก็ไม่รู้จะโต้แย้งอย่างไร คนที่รู้ก็ไม่อยากโต้แย้ง เพราะกลัวว่าพูดหรือเขียนมากไปก็อาจจะเข้าใกล้ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ทุกอย่างก็เลยตามเลย ผู้พิพากษาตุลาการทั้งหลายก็ใหญ่โตสมใจพากันยืดอกยกไหล่ คนอื่นก็พากันยกย่อง เช่น กล่าวว่า “ศาลเป็นที่พึ่งสุดท้ายของประชาชน” เป็นต้น ความคิดเช่นนี้แหล่ะครับที่เป็นเหตุให้ศาลแปลคำว่า “ดูหมิ่น” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ออกไปอย่างกว้างขวาง ขัดกับหลักการตีความกฎหมายอาญา และปฏิบัติต่อผู้ต้องหา หรือจำเลยในคดีอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตร 112 ขัดกับรัฐธรรมนูญ อย่างที่เห็นๆ กันอยู่ เพราะคิดว่าตนเป็นตัวแทนนั้นเอง และเป็นที่เห็นกันอยู่ว่าในการพิจารณาคดีอาญาดังกล่าว ผู้พิพากษามีอคติ 4 ประการ อยู่ในตัวอย่างบริบูรณ์ เมื่อมีอคติย่อมขาดเหตุขาดผล เป็นกลางไม่ได้เมื่อเป็นกลางไม่ได้ก็เป็นผู้พิพากษาที่ดีในคดีนั้นไม่ได้ ผลก็คือตกต่ำ ร่วงโรย เหมือนดวงจันทร์ข้างแรม ดังที่คัมภีร์อินทรภาษได้กล่าวถึงไว้ ถ้าไม่เชื่อท่านผู้อ่านไปฟังการอภิปรายที่หน้าศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษกที่ “ประชาชน” เขาจัดทุกวันอาทิตย์ซีครับ
ความคิดเช่นนี้ สะท้อนให้เห็นจากบทสักวาที่ผู้พิพากษาคนหนึ่งได้เขียนไว้ที่กำแพง ห้องนอนเวร ที่กระทรวงยุติธรรม เมื่อครั้งยังมีระเบียบ ให้ผู้พิพากษา “นอนเวร “ ว่า
สิ้นคิดแล้วหรือเจ้ามาเฝ้าศาล
กลางวันทำในนามพระภูบาล
กลางคืนทำงานเหมือนภารโรง
เมื่อข้อความดังกล่าวรู้ไปถึงปลัดกระทรวงยุติธรรมในขณะนั้น ท่านคงจะเห็นด้วยกับข้อเขียนนั้น ท่านจึงสั่งให้ยกเลิกระเบียบดังกล่าว โดยให้ผู้พิพากษาเสียเงินเป็นค่าตอบแทนข้าราชการธุรการมานอนเวรแทน คนละ 10 บาทต่อเดือน แทนการมาอยู่เวรด้วยตนเอง
ด้วยเหตุผลนี้ผมจึงเห็นว่า การเอาตัวไปผูกไว้กับสถาบันพระมหากษัตริย์ ก็เพราะความ
”อยากใหญ่” ซึ่งก็เป็นธรรมดาของคน รวมทั้งผมด้วย ไม่ใช่ต้องการให้พ้นไปจากการถูกตรวจสอบดังที่บทความกล่าวแต่อย่างใด เพราะผู้พิพากษารู้ดีว่าถูกตรวจสอบอยู่ทุกวันอยู่แล้ว ตามเหตุผลในข้อ 1
ถ้าจะว่าไปแล้ว คนเกือบจะทุกคนในประเทศนี้ที่ถูกปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มานานนับพันปี ซึมซับแนวความคิดในระบบดังกล่าวมาจนยากที่จะถอน จึงอยากจะผูกตัวเองไว้กับสถาบันพระมหากษัตริย์ เพราะสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสัญลักษณ์ของความศักดิ์สิทธิ์และความยิ่งใหญ่สมกับกิเลสตัณหาของตน เหมือนกับผม แต่ยังหาเหตุผลไม่ได้เหมือนผมเท่านั้นเอง
ถ้าจะให้ผมเสนอวิธีแก้ก็คือ ให้เพิ่มในรัฐธรรมนูญอีกหนึ่งมาตราว่า “ประชาชนนั้นยิ่งใหญ่ เพราะเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย จึงเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้” ผู้พิพากษาและตุลาการทั้งหลายก็อาจเปลี่ยนใจ คิดใหม่ ทำใหม่ว่า “ผู้พิพากษาและตุลาการเป็นผู้แทนปวงชน”เพราะเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งและเงินสวัสดิการอื่นๆ ที่ผู้พิพากษาและตุลาการได้เป็นเงินภาษีของประชาชนทั้งสิ้น จึงจะขอใช้อำนาจตุลาการเพื่อประชาชน
ข้าราชการก็จะพูดว่า ข้าราชการเป็นข้ารับใช้ประชาชน
ฯลฯ