การประกาศใช้มาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ปีพ.ศ.๒๕๕๗ เข้าแทนที่ กฏอัยการศึก คาม พ.ร.บ. กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ผลคือ?
คำว่า "เสรีภาพ", "อิสระภาพ" ในความหมายของไทย และชาติในโลกตะวันตก และเอเชียที่เจริญแล้วในระบอบ ประชาธิปไตย................................................................ ฯ
กับคำว่า " ประชาธิปไตย แบบไทยๆ" มีความหมายที่ต่างกัน และไม่เหมือนกัน คนไทยในระดับผู้ปกครอง จะเข้าใจอย่างไร? คงไม่ต้องเป็นห่วงมากนัก.....................ฯ
เมื่อคำว่า "อิสระภาพ" หรือคำว่า "เสรีภาพ" ที่เป็นอยู่ในประเทศไทย ไม่สอดรับกับ " Bill of Rights" ท้ายบทบัญญัติรัฐธรรมนูญของ สหรัฐอเมริกา ที่ยุโรป และอีกหลายๆ ประเทศทั่วโลก ที่เจริญทางประชาธิปไตยแล้ว ยึดถือเป็นหลักในทางพื้นฐาน เพื่อ ปฏิบัติ....................................................................................................................... ฯ
เมื่อของเรา ยังใช้มาตรฐานแบบเขา ไม่ได้ ก็แหกตาเขาไม่ได้ครับ............................ฯ
{ให้ดูกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ปีค.ศ.๑๙๖๖ หรือ International Covenant on Economic Social and Cultural Rights, 1966............................................................................................................................ฯ
ที่ประเทศไทย ไปประกาศเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกภายใต้สนธิสัญญานี้ในปีพ.ศ.๒๕๔๐ มีผลบังคับในวันที่ ๑ มกราคม ปีพ.ศ.๒๕๔๑ เป็นหลักในการชี้วัดมาตรฐานในการใช้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ปีพ.ศ.๒๕๕๗ มาตรา ๔๔...........................................................................................................................ฯ
ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญ [เถื่อน] ในสายตาของนานาชาติอยู่แล้ว} เป็นตัวชี้วัด เพราะทั้งกฏอัยการศึก และมาตรา ๔๔ ในสายตาของโลกตะวันตก ต่างก็เป็นโมฆะทั้งคู่ หรือจะเรียกว่า “โมฆะ ยกกำลังสอง” ก็ดูจะไม่ผิดเพี้ยนจนเกินไปนัก จึงต้องถามว่า “คุณไปเอากฏหมาย[เถื่อน] เข้ามาแทนที่ กฏหมาย[เถื่อน] ผลที่ได้รับก็คือ “๐” ซิครับ.
เมื่อของเรา ยังใช้มาตรฐานแบบเขา ไม่ได้ ก็แหกตาเขาไม่ได้ครับ............................ฯ
{ให้ดูกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ปีค.ศ.๑๙๖๖ หรือ International Covenant on Economic Social and Cultural Rights, 1966............................................................................................................................ฯ
ที่ประเทศไทย ไปประกาศเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกภายใต้สนธิสัญญานี้ในปีพ.ศ.๒๕๔๐ มีผลบังคับในวันที่ ๑ มกราคม ปีพ.ศ.๒๕๔๑ เป็นหลักในการชี้วัดมาตรฐานในการใช้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ปีพ.ศ.๒๕๕๗ มาตรา ๔๔...........................................................................................................................ฯ
ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญ [เถื่อน] ในสายตาของนานาชาติอยู่แล้ว} เป็นตัวชี้วัด เพราะทั้งกฏอัยการศึก และมาตรา ๔๔ ในสายตาของโลกตะวันตก ต่างก็เป็นโมฆะทั้งคู่ หรือจะเรียกว่า “โมฆะ ยกกำลังสอง” ก็ดูจะไม่ผิดเพี้ยนจนเกินไปนัก จึงต้องถามว่า “คุณไปเอากฏหมาย[เถื่อน] เข้ามาแทนที่ กฏหมาย[เถื่อน] ผลที่ได้รับก็คือ “๐” ซิครับ.
No comments:
Post a Comment