PPD's Official Website

Showing posts with label กฎหมายสากล. Show all posts
Showing posts with label กฎหมายสากล. Show all posts

Monday, April 27, 2015

การยึดอำนาจประชาชน แล้วไปทำโครงการขายชาติ ถูกกฎหมายสากลหรือไม่? คนไทยทวงคืนได้ไหม?

คุณ ประยุทธ กับ คสช. และคณะ จะจัดสร้างทางรถไฟ โดยเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนไทย และดึงเอา จีน ญี่ปุ่น หรือแม้แต่ชาติในยุโรป หรือสหรัฐฯ เข้ามาร่วมทุนจัดสร้าง ทำได้แน่หรือ? โดยชอบด้วยกฏหมายระหว่างประเทศ
นี่คือคำตอบ:
อย่าเอ็ดไปครับ คุณใช้ Convention Against Transnational Crime, Sept. 2003 ที่นานาชาติ เริ่มลงนามและให้สัตยาบันกันในปีค.ศ.๒๐๐๐ และประเทศนี้ไปให้สัตยาบันในปีค.ศ.๒๐๑๓ มาเป็นเครื่องมือ ในการป้องกันชาติ มิให้ถูกปล้นได้ครับ
สิทธิเหนือรางรถไฟ เป็นสิทธิที่เกี่ยวกับ อธิปัตย์ เป็นของราษฏรทุกๆคนในประเทศนี้ เมื่อจะยกสิทธิเหนือรางรถไฟ ให้ใครๆไป ต้องทำตาม กติกาสากล (ระหว่างประเทศ) ว่าด้วย สิทธิพลเมือง และ สิทธิในทางการเมือง ปีค.ศ.๑๙๖๖ ที่ประเทศนี้ไปประกาศเข้าร่วมเป็นรัฐคู่ภาคีสมาชิก มาตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๕๓๙ มีผลบังคับทั่วไปต่อประเทศไทย ในวันที่ ๑ มกราคม ปีพ.ศ. ๒๕๔๐ และ ยังต้องบังคับตามกติกาสากล (ระหว่างประเทศ) ว่าด้วย สิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ปีค.ศ.๑๙๖๖ ที่ประเทศไทย ไปประกาศขอเข้า เป็นรัฐคู่ภาคีในปีพ.ศ.๒๕๔๐ มีผลบังคับทั่วไปต่อประเทศไทยในวันที่ ๑ มกราคม ปีพ.ศ.๒๕๔๑ บทบัญญัติที่ ๑ ของสนธิสัญญาทั้งสอง คือ สิทธิที่ราษฎร ต้องใช้อัตวินิจฉัยของตนเอง หรือ Right to Self - Determination คุณประยุทธฯกับพวกคือ คสช. กับ คณะไม่ใช่เจ้าของคนเดียวผูกขาด ในสิทธินี้!!!!!!!!!!!!!!!!!!
เมื่อกระทำการยึดอำนาจ ขัด หรือ แย้งกับ Convention Against Corruption, 2003 การยึดอำนาจ หรือ รัฐประหารตกเป็นโมฆะ บนที่ราบแห่งนานาชาติ (International Plane)
ทำอะไรต่อไป ก็เข้าตามองค์ประกอบของบทบัญญัติที่ ๑ และ ๒ ของ Convention Against Transnational Organized Crime, Sept. 2003 มีผลบังคับไทยมาแต่ปีค.ศ.๒๐๐๐ เพราะไทย ให้สัตยาบันต่อสนธิสัญญานี้ ในเดือนตุลาคม ปีค.ศ.๒๐๑๓ ต้องส่งย้อนหลังตามหลักการของกฏหมายระหว่างประเทศ
การให้สิทธิเหนือรางรถไฟ จึงทำไม่ได้ เพราะไม่ใช่สิทธิของ คสช. กับคณะ แต่เป็นของประชาชนคนไทยทุกๆคน คสช.กับคณะทั้งหมด ไปก่อภาระผูกพันใดๆต่อประเทศชาติ และประชาชน โดยไม่ถามประชาชนทุกๆคนในประเทศไม่ได้  เพราะกระทำการขัดหลักการของ กฏหมายระหว่างประเทศ อันมีที่มาจากสนธิสัญญา (Obligation derives from the Law of Treaties) คน ที่เข้ามาจัดสร้าง ไม่ว่า จีน หรือ ญี่ปุ่น หรือชาติใดๆ อยากลองเสี่ยงกับโมฆะกรรม ก็ลองดู ไม่มีใครว่า? เพราะเป็นเรื่องของ พี่น้องประชาชนคนไทยทุกๆคนจริง ไม่ว่าเขา จะอยู่ในมุมใดของโลก เขาคือเจ้าของสิทธิในการอัตวินิจฉัย หรือ Right to Self - Determination ตัวจริง

ผู้ที่กระทำการฝ่าฝืนความของ สนธิสัญญาทั้งสองข้างต้น ล้วนมีความรับผิดในทางอาญาระหว่างประเทศ เป็นรายบุคคล


ใครอยากทำอะไรแบบแถๆ หรือ ฝ่าฝืน? ก็ลองของได้ Convention Against Corruption, 2003 ก็ดี Convention Against Transnational Organized Crime, Sept. 2004 ล้วนเป็นสนธิสัญญา ที่ก่อตั้งสิทธิในการดำเนินคดีในทางอาญา ให้แก่ราษฎร ที่ต้องตกเป็นผู้เสียหาย
การจะเที่ยวไปอ้างว่า "เป็นการกระทำเพื่อประโยชน์สาธารณ หรือ ความมั่นคงของชาติ ล้วนเป็นไปเพื่อจะใช้สิทธิของราษฎร หรือ แทนราษฎร ที่เขามีอยู่ตามกติการะหว่างประเทศทั้งสองข้างต้น ไม่อาจกระทำได้
ราษฎร เขาต้องทำด้วยตัวเขาเอง ผ่านกรรมวิธีประชามติ ที่ถูกต้องสมบูรณ์ ภายใต้กฏหมายระหว่างประเทศ ที่พัฒนาแล้ว" เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้.






Thursday, April 16, 2015

คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?

คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?
Thanaboon Chiranuvat
คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?
นี่คือคำตอบ ในฐานะ ที่เป็นนักกฏหมายระหว่างประเทศ:
นี่คือ พยานหลักฐาน อีกชิ้นหนึ่ง ที่จะใช้เป็นเชือกรัดคอ เหล่อัลไต ทั้งนี้เพราะสถานภาพแห่งตัวตน ไม่มีตามกฏหมายโดยชอบ คำว่า " กฏหมาย" ก็คือ "กฏหมายอันมีที่มา จากสนธิสัญญา ซึ่งได้แก่
๑. Convention Against Corruption, 2003,
๒. the Geneva Conventions, 1949
๓. the Hague Conventions, 1899 - 1907
๔. the Convention Against Trans - National Organized Crimes and Protocol thereto, 2004
๕ คำพิพากษาของ Appeal Court ในกรุงเฮก ( at the Hague) 29 October 2009ในคดีที่ชื่อว่า Sesay et. al
ทั้งห้าขั้นตอนนี้ เป็นยิ่งกว่า และอยู่เหนือกว่า "แม่น้ำทั้งห้าสายของคณะ คสช."
การออกคำสั่งอย่างนี้มาในเวลานี้ ไม่ต่างจาก
๑. แสดงอาการจนมุม
๒. ดื้อ ทำผิดกฏเกณฑ์ ทั้งห้าทางสากล ที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ซ้ำแล้วซ้ำอีก (Repeated Actions)
๓.นานาชาติ เขารู้เช่นเห็นชาติคุณหมดแล้ว จะไปทำอะไร? ที่ไหนอย่างไร? เขาจะเอาด้วย เป็นเรื่องยาก
๔. คุณแน่ใจนะว่านานาชาติ เขาไม่รู้ว่า "เวลานี้สิ่งที่คนไทยทั้งประเทศ มีความต้องการอย่างมากที่สุด เพื่อให้บ้านเมืองเกิดความสงบ และ สันติสุข คือคำว่า [ประชาธิปไตย อย่างที่ได้รับการปฏิบัติกันอยู่ และ จับต้องได้เป็นรูปธรรม ในระดับนานาชาติ]"
๕. เลิกกะล่อนกับ นานาชาติ ได้แล้ว เผื่อว่า จะได้มีทางเดิน ให้กับตัวเอง และครอบครัว เดินออกไปได้อย่างปลอดภัย และ มั่นคง
คุณเหล่ อัลไต นี่คือคำเตือน จากคนที่หวังดี ต่อบ้านเมืองนี้ อย่างบริสุทธิ์ใจ.

คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?

คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?
Thanaboon Chiranuvat
คำสั่งของคณะคสช ฉบับที่ ๔/ ๒๕๕๘ คืออะไร?
นี่คือคำตอบ ในฐานะ ที่เป็นนักกฏหมายระหว่างประเทศ:
นี่คือ พยานหลักฐาน อีกชิ้นหนึ่ง ที่จะใช้เป็นเชือกรัดคอ เหล่อัลไต ทั้งนี้เพราะสถานภาพแห่งตัวตน ไม่มีตามกฏหมายโดยชอบ คำว่า " กฏหมาย" ก็คือ "กฏหมายอันมีที่มา จากสนธิสัญญา ซึ่งได้แก่
๑. Convention Against Corruption, 2003,
๒. the Geneva Conventions, 1949
๓. the Hague Conventions, 1899 - 1907
๔. the Convention Against Trans - National Organized Crimes and Protocol thereto, 2004
๕ คำพิพากษาของ Appeal Court ในกรุงเฮก ( at the Hague) 29 October 2009ในคดีที่ชื่อว่า Sesay et. al
ทั้งห้าขั้นตอนนี้ เป็นยิ่งกว่า และอยู่เหนือกว่า "แม่น้ำทั้งห้าสายของคณะ คสช."
การออกคำสั่งอย่างนี้มาในเวลานี้ ไม่ต่างจาก
๑. แสดงอาการจนมุม
๒. ดื้อ ทำผิดกฏเกณฑ์ ทั้งห้าทางสากล ที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ซ้ำแล้วซ้ำอีก (Repeated Actions)
๓.นานาชาติ เขารู้เช่นเห็นชาติคุณหมดแล้ว จะไปทำอะไร? ที่ไหนอย่างไร? เขาจะเอาด้วย เป็นเรื่องยาก
๔. คุณแน่ใจนะว่านานาชาติ เขาไม่รู้ว่า "เวลานี้สิ่งที่คนไทยทั้งประเทศ มีความต้องการอย่างมากที่สุด เพื่อให้บ้านเมืองเกิดความสงบ และ สันติสุข คือคำว่า [ประชาธิปไตย อย่างที่ได้รับการปฏิบัติกันอยู่ และ จับต้องได้เป็นรูปธรรม ในระดับนานาชาติ]"
๕. เลิกกะล่อนกับ นานาชาติ ได้แล้ว เผื่อว่า จะได้มีทางเดิน ให้กับตัวเอง และครอบครัว เดินออกไปได้อย่างปลอดภัย และ มั่นคง
คุณเหล่ อัลไต นี่คือคำเตือน จากคนที่หวังดี ต่อบ้านเมืองนี้ อย่างบริสุทธิ์ใจ.

Saturday, April 11, 2015

เมื่อประเทศไทย ยังไม่อาจปรับตัวบทกฏหมายภายในของตนให้สอดคล้องกับกฎเกณฑ์อันเป็นสากล (ตอนที่ ๑)


โดยอาจารย์ธนบูรณ์ จิรานุวัฒน์

เมื่อประเทศไทย ยังไม่อาจปรับตัวบทกฏหมายภายในของตนให้สอดคล้องกับกฎเกณฑ์อันเป็นสากล (ตอนที่ ๑)
การแยกแยะหรือการหาความแตกต่างในระหว่างการละเมิดสิทธิมนุษยชน (Violations of Human Rights) กับ การละเมิดในกฏหมายมนุษยธรรม (Violations of the Humanitarian Laws)
๑. นักกฏหมายไทย หรือนักกฏหมายไทย ยังไม่สามารถแยกแยะ หรือที่จะชี้ความแตกต่างในระหว่าง กฏหมายอันมีที่มาจากสิทธิมนุษยชน (Human Rights’ Law) กับ กฏหมายอันมีที่มาจากกฏหมายมนุษยธรรม (Humanitarian’s Law) ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจำเป็นต้องชี้แนะให้เห็นความแตกต่าง
๑.๑. เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองใกล้สิ้นสุดลงนั้น อเมริกัน อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน และ สหภาพโซเวียตรุสซีย (The Big Five) ที่ในเวลาต่อมา คือ สมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ที่มีอำนาจวีโต้ [VETO] หรือ อำนาจยับยั้งเสียงโหวตของชาติสมาชิกอื่นๆในคณะมนตรีความมั่นคง) เห็นพ้องต้องกันให้นำนักวิชาการในสาขาต่างๆไม่ว่า นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และในสาขา Pure Science ต่างๆ ฯลฯ เป็นต้น บุคคลที่ถูกรับเชิญ คือ บุคคลที่มีคุณสมบัติในชั้นผู้นำของนักวิชาการในแขนงนั้นๆที่มีตัวตนอยู่ในยุโรป (Distinguished Guest) ให้มาลงเรือ Queen Mary (ซึ่งเป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะเวลานั้น) เดินทางมาร่วมประชุมที่สหรัฐอเมริกา พร้อมกับนักวิชาการชั้นนำในสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้เพื่อจะดำเนินนโยบาย ที่จะใช้ปกครองโลกให้มีความสันติสุข และสงบเรียบร้อยต่อไป และไม่ต้องการให้มีสงคราม อันหฤโหดต่อไปในเผ่าพันธุ์มนุษยชาติที่อาศัยอยู่บนโลกมนุษย์นี้ หลังจากที่มี United Nations (องค์การโลกบาล) ที่จะเป็นตัวแทนชาวโลกทั้งหมด
๑.๒. หลังจากที่นักวิชาการชั้นนำเหล่านั้น ได้เดินทางลงเรือ Queen Mary และเดินทางออกจากท่าเรือปอร์ตสมัท ที่อังกฤษ เพื่อดินทางข้ามมหาสมุทร แอตแลนติด (Atlantic Ocean) มายังสหรัฐอเมริกา (NEW WORLD หรือ โลกใหม่) ได้มีการจัดการสัมนาทางวิชาการบนเรือโดยสารมนุษย์ดังกล่าว จึงพบว่าในโลกขณะนั้น มีระบบกฏหมายที่ใช้ปกครองภายในแต่ละประเทศเพียง ๓ ระบบ คือระบบ COMMON LAW ระบบ ROMAN LAW ที่ใช้ปกครองเป็นกฏหมายภายในของประเทศบนภาคพื้นยุโรป และระบบกฎหมายของสหภาพโซเวียตรุสเซีย และยุโรปซีกเหนือ (RUSSIAN LAW) ประเทศทั้ง ๕ หรือ The Big Five ที่จะคิดรวบรวมระบบกฏหมายที่ใช้ปกครองโลก เป็นหนึ่งเดียว โดยมอบหมายให้องค์การสหประชาชาติ เป็นผู้ไปจัดทำและดำเนินการในเรื่องนี้ จนก่อเกิดเป็น Human Rights Law ซึ่งก็คือ “ยุทธศาสตร์ หรือ ยุทธวิธี ที่จะรวบรวมระบบกฏหมาย ที่ใช้ปกครองในโลกใบนี้ให้เป็นระบบหนึ่งเดียว” ดังปรากฏตาม Diagram ข้างล่างนี้



Sunday, April 5, 2015

นักกฎหมายระหว่างประเทศ เตือน คสช.​ว่า "รัฐบาลสหรัฐ" ล็อคเป้าเล่นงานคณะเผด็จการไทย (มาระยะหนึ่งแล้ว)

นักกฎหมายระหว่างประเทศ เตือน คสช.​ว่า "รัฐบาลสหรัฐ" ล็อคเป้าเล่นงานคณะเผด็จการไทย (มาระยะหนึ่งแล้ว)
การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ (Secretary of State) ทำคำประกาศให้ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ออกประกาศในวันที่ ๔ สิงหาคม ปีค.ศ.๒๐๑๑ เมื่อนำมาวิพากษ์ท่านผู้อ่านเกิดความงุนงง จึงขอชี้แจงให้เห็นโดยแจ้งชัดด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้เรื่อง ที่ท่านผู้อ่านงง จะหายงง เมื่ออ่านข้อความต่อไปนี้: ............................ฯ ๑.ในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกา เป็นอำนาจ โดยเฉพาะของฝ่ายบริหาร (the Executive) ที่ฝ่ายนิติบัญญัติ (Legislatures) หรือ ฝ่ายตุลาการ (the Judiciary) ไม่อาจเข้าไปสอดแทรกใดๆได้ ในการที่ฝ่ายบริหาร ดำเนินนโยบายต่างประเทศในต่างประเทศ หรือต่อต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาใช้หลักการปกครองประเทศในรูป แบบการแบ่งแยกอำนาจ (the Separation of Powers) โดยเคร่งครัด จะเห็นได้จากคำพิพากษาของศาล Supreme Court (ศาลรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา) ที่อธิบายถึงอำนาจของฝ่ายบริหาร ในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ ที่ไม่ว่าฝ่ายใดในการบริหารประเทศ ที่เหลืออยู่จะเข้าไปสอดแทรกได้ ยกตัวอย่างเช่นคดี United States v. Pink..............................................................................................................ฯ ๒.ในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ ในต่างประเทศ ฝ่ายบริหาร จะไปจัดตั้งหน่วยข่าวกรอง หรือหน่วยสืบราชการลับ ก็เพื่อประโยชน์ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาโดย รวม.....................................................................................................................ฯ
๓. เมื่อเกิดหน่วยข่าวกรอง และ หน่วยสืบราชการลับ ฝ่ายบริหาร ย่อมมีอำนาจโดยอิสระ ที่จะก่อตั้งหน่วยงานของตน มาตรวจสอบการทำงานของหน่วยสืบราชการลับ หรือ หน่วยข่าวกรอง และยิ่งมีหน่วยตรวจสอบมากเท่าใด? ความแม่นยำในการคาดการณ์ (Projection) ในสถานการณ์ ที่จะเกิดขึ้นในประเทศหนึ่งประเทศใด ย่อมมีความแม่นยำตามลำดับ ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นายพลตรี Stevenson ก่อตั้งหน่วย SOS เป็นหน่วยงานต่อต้าน ระบบของฮิตเลอร์ และ จักรวรรดิ์นิยมญี่ปุ่น จนประสพผลสำเร็จ ท่านอาจไปหาความรู้นี้ได้จาก ยูทูป โดยการพิมพ์ชื่อหน่วยงาน SOS ลงไป...............................................................................................ฯ ๔. การที่รัฐมนตรีต่างประเทศ หรือ (รัฐมนตรีแม่บ้าน, Secretary of State) ขอออกคำประกาศนี้ในปีค.ศ.๒๐๑๑ นั่นคือ พุ่งเป้าเข้าหาประเทศไทย ที่มีที่ตั้งอยู่ใน Pacific Rims ที่อยู่กึ่งกลางโลก และ เป็นประเทศ ที่มียุทธศาสตร์ที่ตั้งในเชิงการเมือง (the Geographical & Political Strategic Location) ของโลก และ เป็นปีเดียวกัน กับที่ประเทศไทย ได้ให้สัตยาบันแก่ Convention Against Corruption, 2003 เมื่อเป็นดังนี้ แสดงว่าสหรัฐอเมริกา ได้ประเมินสถานการณ์ในประเทศไทย ไปเรียบร้อยแล้ว จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เมื่ออ่านความเห็นนี้แล้ว ท่านผู้อ่านคงจะเข้าใจ และ หายงง.

นักกฎหมายระหว่างประเทศ เตือน คสช.​ว่า "รัฐบาลสหรัฐ" ล็อคเป้าเล่นงานคณะเผด็จการไทย (มาระยะหนึ่งแล้ว)

นักกฎหมายระหว่างประเทศ เตือน คสช.​ว่า "รัฐบาลสหรัฐ" ล็อคเป้าเล่นงานคณะเผด็จการไทย (มาระยะหนึ่งแล้ว)
การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ (Secretary of State) ทำคำประกาศให้ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ออกประกาศในวันที่ ๔ สิงหาคม ปีค.ศ.๒๐๑๑ เมื่อนำมาวิพากษ์ท่านผู้อ่านเกิดความงุนงง จึงขอชี้แจงให้เห็นโดยแจ้งชัดด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้เรื่อง ที่ท่านผู้อ่านงง จะหายงง เมื่ออ่านข้อความต่อไปนี้: ............................ฯ ๑.ในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกา เป็นอำนาจ โดยเฉพาะของฝ่ายบริหาร (the Executive) ที่ฝ่ายนิติบัญญัติ (Legislatures) หรือ ฝ่ายตุลาการ (the Judiciary) ไม่อาจเข้าไปสอดแทรกใดๆได้ ในการที่ฝ่ายบริหาร ดำเนินนโยบายต่างประเทศในต่างประเทศ หรือต่อต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาใช้หลักการปกครองประเทศในรูป แบบการแบ่งแยกอำนาจ (the Separation of Powers) โดยเคร่งครัด จะเห็นได้จากคำพิพากษาของศาล Supreme Court (ศาลรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา) ที่อธิบายถึงอำนาจของฝ่ายบริหาร ในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ ที่ไม่ว่าฝ่ายใดในการบริหารประเทศ ที่เหลืออยู่จะเข้าไปสอดแทรกได้ ยกตัวอย่างเช่นคดี United States v. Pink..............................................................................................................ฯ ๒.ในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ ในต่างประเทศ ฝ่ายบริหาร จะไปจัดตั้งหน่วยข่าวกรอง หรือหน่วยสืบราชการลับ ก็เพื่อประโยชน์ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาโดย รวม.....................................................................................................................ฯ
๓. เมื่อเกิดหน่วยข่าวกรอง และ หน่วยสืบราชการลับ ฝ่ายบริหาร ย่อมมีอำนาจโดยอิสระ ที่จะก่อตั้งหน่วยงานของตน มาตรวจสอบการทำงานของหน่วยสืบราชการลับ หรือ หน่วยข่าวกรอง และยิ่งมีหน่วยตรวจสอบมากเท่าใด? ความแม่นยำในการคาดการณ์ (Projection) ในสถานการณ์ ที่จะเกิดขึ้นในประเทศหนึ่งประเทศใด ย่อมมีความแม่นยำตามลำดับ ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นายพลตรี Stevenson ก่อตั้งหน่วย SOS เป็นหน่วยงานต่อต้าน ระบบของฮิตเลอร์ และ จักรวรรดิ์นิยมญี่ปุ่น จนประสพผลสำเร็จ ท่านอาจไปหาความรู้นี้ได้จาก ยูทูป โดยการพิมพ์ชื่อหน่วยงาน SOS ลงไป...............................................................................................ฯ ๔. การที่รัฐมนตรีต่างประเทศ หรือ (รัฐมนตรีแม่บ้าน, Secretary of State) ขอออกคำประกาศนี้ในปีค.ศ.๒๐๑๑ นั่นคือ พุ่งเป้าเข้าหาประเทศไทย ที่มีที่ตั้งอยู่ใน Pacific Rims ที่อยู่กึ่งกลางโลก และ เป็นประเทศ ที่มียุทธศาสตร์ที่ตั้งในเชิงการเมือง (the Geographical & Political Strategic Location) ของโลก และ เป็นปีเดียวกัน กับที่ประเทศไทย ได้ให้สัตยาบันแก่ Convention Against Corruption, 2003 เมื่อเป็นดังนี้ แสดงว่าสหรัฐอเมริกา ได้ประเมินสถานการณ์ในประเทศไทย ไปเรียบร้อยแล้ว จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เมื่ออ่านความเห็นนี้แล้ว ท่านผู้อ่านคงจะเข้าใจ และ หายงง.

Saturday, April 4, 2015

ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน?





By Thanaboon Chiranuvat
ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน? มีคนไทย ที่ยังมีความสงสัย ในเรื่องอำนาจการพิจารณา และ พิพากษา ในระหว่างศาลอาญาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ และศาลอาญาระหว่างประเทศ เกี่ยวพันกับ Convention Against Corruption, 2003.

ก) ไทยไม่ได้ลงสัตยาบันยอมรับศาลอาญาระหว่างประเทศใข่ไหมคะ ข) เคยมีใครโดนศาลอาญาพิเศษของสหประชาขาติโดนพิพากษาว่าละเมิด Convention Against Corruption ไหมคะ
๑. ไทยไม่ต้องลงสัตยาบันใดๆ เพราะไทยให้สัตยาบันมาแล้ว ต่อ Charter of United Nations, 1945 ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๔๖ หรือปีพ.ศ.๒๔๘๙ ศาลอาญาพิเศษ ขององค์การสหประชาชาติ เกิดขึ้นตาม Resolutions ของคณะมนตรีความมั่นคง หรือ Security Council ที่ ๑๖๗๔ และ ๘๒๗ คำสั่งของคณะมนตรีความมั่นคง เมื่อสั่งแล้วมีผลบังคับ เป็นกฏหมายทันที ในกฏหมายภายในของรัฐคู่ภาคีสมาชิก ขององค์การสหประชาชาติ ตามกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ Charter of United Nations ......................................................ฯ
๒. ยังไม่มีใครโดนดำเนินคดีตาม (สนธิสัญญา) หรือ Convention Against Corruption, 2003 แต่ไทยจะโดนเป็นคนแรก ให้ไปเปิดเว็บไซด์ของศาลนี้ดู คือ ศาล อาญาพิเศษของสหประชาชาติ ที่ตั้งไว้ในบอสเนีย เฮอร์เซ โกวีน่า, ราวันด้า ได้ครับ นั่นเป็นการพิจารณาและพิพากษาตาม the Geneva Conventions, 1949 และ Hague Conventions หรือ Regulations, 1899 - 1907 สำหรับสองสนธิสัญญานี้ มีความเกี่ยวพัน หรือเกี่ยวโยงใกล้ชิดกับ Human Rights Law ที่เป็นบ่อเกิดของ Convention Against Corruption, 2003 ฉะนั้นเมื่อเรื่องไปถึงองค์การสหประชาชาติ และ ดำเนินการในการสอบสวนจนเสร็จสิ้นแล้ว คดีจะถูกส่งไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อมีมติว่า จะให้ขึ้นศาลใดในระหว่าง ศาลอาญาระหว่างประเทศ กับ ศาลอาญาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ เพราะอำนาจให้ไปขึ้นศาลใด เป็นอำนาจโดยเฉพาะของ คณะมนตรีความมั่นคง ตาม Rome Statue, 1998 และ Charter of United Nations, 1945........................................................ฯ

๓. ประเทศไทย ยังมิได้ให้สัตยาบันต่อ Rome Statues, 1998 แต่ถึงอย่างไร? ก็ตามเมื่อเรื่องไปรอการลงมติของคณะมนตรีความมั่นคง เพื่อสั่ง เมื่อคณะมนตรีความมั่นคงสั่งอย่างไร? ตามกฏบัตรสหประชาชาติ, ๑๙๔๕ แล้ว ย่อมส่งผลไปถึง Rome Statues, 1998 อยู่ดี ทั้งนี้เป็นไป ตามมติของที่ประชุมใหญ่ของรัฐคู่ภาคี Rome Statues, 1998 ที่ไปประชุมกันที่กรุงกัมปาล่า ประเทศเอธิโอเปีย เมื่อปีค.ศ.๒๐๑๐ ศาลอาญาระหว่างประเทศ มิใช่ศาลอาญาของ องค์การสหประชาชาติ แต่เป็นศาล ที่องค์การสหประชาชาติ เป็น Sponsor จัดตั้งให้เกิดขึ้นตามคำร้องของ ชาติคู่ภาคีสมาชิก ขององค์การสหประชาชาติ มีประมาณ ๑๒๐ ชาติคู่ภาคี.
ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน?

Thursday, April 2, 2015

เผด็จการไทย ใช้อำนาจสอดคล้องกับกฎหมายสากลหรือไม่?

เผด็จการไทย ใช้อำนาจสอดคล้องกับกฎหมายสากลหรือไม่?
การใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔๔ ทำได้โดยชอบภายใต้กรอบบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ และภายใต้กรอบสนธิสัญญาที่ประเทศไทย มีพันธกรณีอยู่กับนานาชาติหรือไม่?
การจะวิพากษ์ว่า "การใช้อำนาจ ตามมาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ " เป็นการใช้อำนาจของอธิปัตย์ หรือ Sovereignty นั้น คนไทยควรจะต้องรู้เสียก่อนว่า ๑. เมื่อเกิดการยึดอำนาจ และทำการรัฐประหารโดย "ท่านผู้นำ" ประยุทธฯ ในวันที่ ๒๐ - ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ เป็นการยึดอำนาจ และรัฐประหาร ที่ใช้อำนาจตาม พ.ร.บ.กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ซึ่งเป็นกฏหมายที่เกิดมาจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช การที่กฏหมายจากคนละระบอบ จะเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หลังเวลาย่ำรุ่งของวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ เพื่อบังคับใช้เป็นกฏหมาย ในระบอบการปกครองใหม่ได้ รัฐสภาไทยในสมัยแรก ของ ระบอบการปกครองใหม่ จะต้องลงมติยอมรับให้บังคับใช้ แต่รัฐสภาไทยดังกล่าว ไม่ทำอะไรเลย เรียกว่า "รัฐสภาไทย is silent" เปรียบเทียบกรณีนี้ กับ การปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส เมื่อเดือนสิงหาคม ปีค.ศ.1793 รัฐสภาฝรั่งเศส ภายหลังการปฏิวัติใหญ่ ก็ใช้วิธีการ Silent ต่อกฏหมายอันมีที่มา จากรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทั้งหมด กฏหมาย ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชของฝรั่งเศสทั้งหมด ไม่อาจนำมาบังคับใช้ ในระบอบการปกครองใหม่ในประเทศฝรั่งเศสได้......................................ฯ


๒. ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๕๔ หรือปีพ.ศ.๒๔๙๗ ประเทศไทย ไปประกาศขอเข้าร่วมในสนธิสัญญากรุงเจนีวา ปีค.ศ.๑๙๔๙ (ทั้ง ๔ ฉบับ) หรือ the Geneva Conventions,1949 เกิดเป็นพันธกรณีตามสนธิสัญญาที่กล่าวนี้ ผูกพันประเทศไทย สนธิสัญญาฉบับที่กล่าวนี้ ผูกโยงเอาอำนาจทั้งหลายตามพ.ร.บ.กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ทั้งหมด เข้ามาสู่บทบัญญัติที่ ๕๙ ของสนธิสัญญา เมื่อเป็นดังที่กล่าวมานี้ สนธิสัญญาย่อมอยู่เหนือกฏหมายภายในของรัฐคู่ภาคีสนธิสัญญา ทั้งนี้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลโลกเดิมหรือ PCIJ ในคดีที่มีชื่อว่า "the Greco -Bulgarian Communities Case" ที่ตัดสินไว้เมื่อปีค.ศ.๑๙๓๐ และ ย้ำยืนยันโดยคำพิพากษาของศาลสถิตย์ยุติธรรมสังคมประชาคมเศรษฐกิจของยุโรป ในคดีที่มีชื่อว่า Flaminio Costa v. E.N.E.L.ศาลดังกล่าว เป็นศาลนานาชาติ คำพิพากษา(คำวินิจฉัยเบื้องต้นของศาล) ย่อมมีผลผูกพัน และใช้บังคับได้บนที่ราบแห่งนานาชาติ หรือ International Plane ..................................................................ฯ
(๓) ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๔๖ หรือปีพ.ศ.๒๔๘๙ ประเทศไทย ยอมรับกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ the Charter of United Nations โดยการเข้าเป็นสมาชิกในองค์การโลกบาลแห่งนี้ กฏบัตรสหประชาชาติ เป็นสนธิสัญญาหลายฝ่าย(พหุภาคี) องค์การสหประชาชาตินอกจากจะมีอำนาจรักษาความสงบเรียบร้อย และ สันติสุขในระหว่างประเทศแล้ว ยังมีอำนาจรักษาความสงบเรียบร้อยและ สันติสุขภายในชาติของคู่ภาคีสมาชิกด้วย เมื่อเป็นเช่นนี้ พ.ร.บ. กฏอัยการศึกของประเทศไทย ย่อมขัด หรือ แย้ง กับ กฏบัตรสหประชาชาติ จึงตกเป็นโมฆะไปในทันทีที่นำพ.ร.บ. กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ มาประกาศและบังคับใช้.............................................ฯ
(๔)เมื่อการประกาศกฏอัยการศึกตก เป็นโมฆะ การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ประกาศตามมาหลังการยึดอำนาจ ย่อมตกเป็นโมฆะไปด้วย เพราะไม่มีพื้นฐานของกฏหมายใดๆรองรับ แม้ประเทศไทย ไม่ไปประกาศยกเลิกกฏอัยการศึก กฏอัยการศึกก็ไม่สามารถใช้บังคับได้ บนที่ราบแห่งนานาชาติ เพราะตกเป็นโมฆะ มาตั้งแต่วันที่ ๒๐ - ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ดังที่กล่าวอ้างมาข้างต้นแล้ว...........ฯ
ฉะนั้นการประกาศใช้บังคับมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ ไม่ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยดีขึ้นในสายตานานาชาติ เพราะปราศจากมูลอันจะอ้างตามกฏหมายได้ "ท่านผู้นำ" ควรต้องไปหาวิธีการอื่นๆ ที่ดีกว่าการประกาศบังคับใช้ เพื่อให้มีผลบังคับอย่างเป็นกฏหมาย เอวัง ก็มีด้วยประการฉะนี้.





เผด็จการไทย ใช้อำนาจสอดคล้องกับกฎหมายสากลหรือไม่?

เผด็จการไทย ใช้อำนาจสอดคล้องกับกฎหมายสากลหรือไม่?
การใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔๔ ทำได้โดยชอบภายใต้กรอบบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ และภายใต้กรอบสนธิสัญญาที่ประเทศไทย มีพันธกรณีอยู่กับนานาชาติหรือไม่?
การจะวิพากษ์ว่า "การใช้อำนาจ ตามมาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ " เป็นการใช้อำนาจของอธิปัตย์ หรือ Sovereignty นั้น คนไทยควรจะต้องรู้เสียก่อนว่า ๑. เมื่อเกิดการยึดอำนาจ และทำการรัฐประหารโดย "ท่านผู้นำ" ประยุทธฯ ในวันที่ ๒๐ - ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ เป็นการยึดอำนาจ และรัฐประหาร ที่ใช้อำนาจตาม พ.ร.บ.กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ซึ่งเป็นกฏหมายที่เกิดมาจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช การที่กฏหมายจากคนละระบอบ จะเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หลังเวลาย่ำรุ่งของวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ เพื่อบังคับใช้เป็นกฏหมาย ในระบอบการปกครองใหม่ได้ รัฐสภาไทยในสมัยแรก ของ ระบอบการปกครองใหม่ จะต้องลงมติยอมรับให้บังคับใช้ แต่รัฐสภาไทยดังกล่าว ไม่ทำอะไรเลย เรียกว่า "รัฐสภาไทย is silent" เปรียบเทียบกรณีนี้ กับ การปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส เมื่อเดือนสิงหาคม ปีค.ศ.1793 รัฐสภาฝรั่งเศส ภายหลังการปฏิวัติใหญ่ ก็ใช้วิธีการ Silent ต่อกฏหมายอันมีที่มา จากรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทั้งหมด กฏหมาย ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชของฝรั่งเศสทั้งหมด ไม่อาจนำมาบังคับใช้ ในระบอบการปกครองใหม่ในประเทศฝรั่งเศสได้......................................ฯ


๒. ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๕๔ หรือปีพ.ศ.๒๔๙๗ ประเทศไทย ไปประกาศขอเข้าร่วมในสนธิสัญญากรุงเจนีวา ปีค.ศ.๑๙๔๙ (ทั้ง ๔ ฉบับ) หรือ the Geneva Conventions,1949 เกิดเป็นพันธกรณีตามสนธิสัญญาที่กล่าวนี้ ผูกพันประเทศไทย สนธิสัญญาฉบับที่กล่าวนี้ ผูกโยงเอาอำนาจทั้งหลายตามพ.ร.บ.กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ทั้งหมด เข้ามาสู่บทบัญญัติที่ ๕๙ ของสนธิสัญญา เมื่อเป็นดังที่กล่าวมานี้ สนธิสัญญาย่อมอยู่เหนือกฏหมายภายในของรัฐคู่ภาคีสนธิสัญญา ทั้งนี้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลโลกเดิมหรือ PCIJ ในคดีที่มีชื่อว่า "the Greco -Bulgarian Communities Case" ที่ตัดสินไว้เมื่อปีค.ศ.๑๙๓๐ และ ย้ำยืนยันโดยคำพิพากษาของศาลสถิตย์ยุติธรรมสังคมประชาคมเศรษฐกิจของยุโรป ในคดีที่มีชื่อว่า Flaminio Costa v. E.N.E.L.ศาลดังกล่าว เป็นศาลนานาชาติ คำพิพากษา(คำวินิจฉัยเบื้องต้นของศาล) ย่อมมีผลผูกพัน และใช้บังคับได้บนที่ราบแห่งนานาชาติ หรือ International Plane ..................................................................ฯ
(๓) ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๔๖ หรือปีพ.ศ.๒๔๘๙ ประเทศไทย ยอมรับกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ the Charter of United Nations โดยการเข้าเป็นสมาชิกในองค์การโลกบาลแห่งนี้ กฏบัตรสหประชาชาติ เป็นสนธิสัญญาหลายฝ่าย(พหุภาคี) องค์การสหประชาชาตินอกจากจะมีอำนาจรักษาความสงบเรียบร้อย และ สันติสุขในระหว่างประเทศแล้ว ยังมีอำนาจรักษาความสงบเรียบร้อยและ สันติสุขภายในชาติของคู่ภาคีสมาชิกด้วย เมื่อเป็นเช่นนี้ พ.ร.บ. กฏอัยการศึกของประเทศไทย ย่อมขัด หรือ แย้ง กับ กฏบัตรสหประชาชาติ จึงตกเป็นโมฆะไปในทันทีที่นำพ.ร.บ. กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ มาประกาศและบังคับใช้.............................................ฯ
(๔)เมื่อการประกาศกฏอัยการศึกตก เป็นโมฆะ การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ประกาศตามมาหลังการยึดอำนาจ ย่อมตกเป็นโมฆะไปด้วย เพราะไม่มีพื้นฐานของกฏหมายใดๆรองรับ แม้ประเทศไทย ไม่ไปประกาศยกเลิกกฏอัยการศึก กฏอัยการศึกก็ไม่สามารถใช้บังคับได้ บนที่ราบแห่งนานาชาติ เพราะตกเป็นโมฆะ มาตั้งแต่วันที่ ๒๐ - ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ดังที่กล่าวอ้างมาข้างต้นแล้ว...........ฯ
ฉะนั้นการประกาศใช้บังคับมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ ไม่ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยดีขึ้นในสายตานานาชาติ เพราะปราศจากมูลอันจะอ้างตามกฏหมายได้ "ท่านผู้นำ" ควรต้องไปหาวิธีการอื่นๆ ที่ดีกว่าการประกาศบังคับใช้ เพื่อให้มีผลบังคับอย่างเป็นกฏหมาย เอวัง ก็มีด้วยประการฉะนี้.





เผด็จการไทย ใช้อำนาจสอดคล้องกับกฎหมายสากลหรือไม่?

เผด็จการไทย ใช้อำนาจสอดคล้องกับกฎหมายสากลหรือไม่?
การใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔๔ ทำได้โดยชอบภายใต้กรอบบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ และภายใต้กรอบสนธิสัญญาที่ประเทศไทย มีพันธกรณีอยู่กับนานาชาติหรือไม่?
การจะวิพากษ์ว่า "การใช้อำนาจ ตามมาตรา ๔๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ " เป็นการใช้อำนาจของอธิปัตย์ หรือ Sovereignty นั้น คนไทยควรจะต้องรู้เสียก่อนว่า ๑. เมื่อเกิดการยึดอำนาจ และทำการรัฐประหารโดย "ท่านผู้นำ" ประยุทธฯ ในวันที่ ๒๐ - ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ เป็นการยึดอำนาจ และรัฐประหาร ที่ใช้อำนาจตาม พ.ร.บ.กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ซึ่งเป็นกฏหมายที่เกิดมาจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช การที่กฏหมายจากคนละระบอบ จะเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หลังเวลาย่ำรุ่งของวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ เพื่อบังคับใช้เป็นกฏหมาย ในระบอบการปกครองใหม่ได้ รัฐสภาไทยในสมัยแรก ของ ระบอบการปกครองใหม่ จะต้องลงมติยอมรับให้บังคับใช้ แต่รัฐสภาไทยดังกล่าว ไม่ทำอะไรเลย เรียกว่า "รัฐสภาไทย is silent" เปรียบเทียบกรณีนี้ กับ การปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส เมื่อเดือนสิงหาคม ปีค.ศ.1793 รัฐสภาฝรั่งเศส ภายหลังการปฏิวัติใหญ่ ก็ใช้วิธีการ Silent ต่อกฏหมายอันมีที่มา จากรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทั้งหมด กฏหมาย ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชของฝรั่งเศสทั้งหมด ไม่อาจนำมาบังคับใช้ ในระบอบการปกครองใหม่ในประเทศฝรั่งเศสได้......................................ฯ


๒. ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๕๔ หรือปีพ.ศ.๒๔๙๗ ประเทศไทย ไปประกาศขอเข้าร่วมในสนธิสัญญากรุงเจนีวา ปีค.ศ.๑๙๔๙ (ทั้ง ๔ ฉบับ) หรือ the Geneva Conventions,1949 เกิดเป็นพันธกรณีตามสนธิสัญญาที่กล่าวนี้ ผูกพันประเทศไทย สนธิสัญญาฉบับที่กล่าวนี้ ผูกโยงเอาอำนาจทั้งหลายตามพ.ร.บ.กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ทั้งหมด เข้ามาสู่บทบัญญัติที่ ๕๙ ของสนธิสัญญา เมื่อเป็นดังที่กล่าวมานี้ สนธิสัญญาย่อมอยู่เหนือกฏหมายภายในของรัฐคู่ภาคีสนธิสัญญา ทั้งนี้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลโลกเดิมหรือ PCIJ ในคดีที่มีชื่อว่า "the Greco -Bulgarian Communities Case" ที่ตัดสินไว้เมื่อปีค.ศ.๑๙๓๐ และ ย้ำยืนยันโดยคำพิพากษาของศาลสถิตย์ยุติธรรมสังคมประชาคมเศรษฐกิจของยุโรป ในคดีที่มีชื่อว่า Flaminio Costa v. E.N.E.L.ศาลดังกล่าว เป็นศาลนานาชาติ คำพิพากษา(คำวินิจฉัยเบื้องต้นของศาล) ย่อมมีผลผูกพัน และใช้บังคับได้บนที่ราบแห่งนานาชาติ หรือ International Plane ..................................................................ฯ
(๓) ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๔๖ หรือปีพ.ศ.๒๔๘๙ ประเทศไทย ยอมรับกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ the Charter of United Nations โดยการเข้าเป็นสมาชิกในองค์การโลกบาลแห่งนี้ กฏบัตรสหประชาชาติ เป็นสนธิสัญญาหลายฝ่าย(พหุภาคี) องค์การสหประชาชาตินอกจากจะมีอำนาจรักษาความสงบเรียบร้อย และ สันติสุขในระหว่างประเทศแล้ว ยังมีอำนาจรักษาความสงบเรียบร้อยและ สันติสุขภายในชาติของคู่ภาคีสมาชิกด้วย เมื่อเป็นเช่นนี้ พ.ร.บ. กฏอัยการศึกของประเทศไทย ย่อมขัด หรือ แย้ง กับ กฏบัตรสหประชาชาติ จึงตกเป็นโมฆะไปในทันทีที่นำพ.ร.บ. กฏอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ มาประกาศและบังคับใช้.............................................ฯ
(๔)เมื่อการประกาศกฏอัยการศึกตก เป็นโมฆะ การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ประกาศตามมาหลังการยึดอำนาจ ย่อมตกเป็นโมฆะไปด้วย เพราะไม่มีพื้นฐานของกฏหมายใดๆรองรับ แม้ประเทศไทย ไม่ไปประกาศยกเลิกกฏอัยการศึก กฏอัยการศึกก็ไม่สามารถใช้บังคับได้ บนที่ราบแห่งนานาชาติ เพราะตกเป็นโมฆะ มาตั้งแต่วันที่ ๒๐ - ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ดังที่กล่าวอ้างมาข้างต้นแล้ว...........ฯ
ฉะนั้นการประกาศใช้บังคับมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ ไม่ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยดีขึ้นในสายตานานาชาติ เพราะปราศจากมูลอันจะอ้างตามกฏหมายได้ "ท่านผู้นำ" ควรต้องไปหาวิธีการอื่นๆ ที่ดีกว่าการประกาศบังคับใช้ เพื่อให้มีผลบังคับอย่างเป็นกฏหมาย เอวัง ก็มีด้วยประการฉะนี้.