PPD's Official Website

Showing posts with label สหประชาชาติ. Show all posts
Showing posts with label สหประชาชาติ. Show all posts

Monday, April 6, 2015

รัฐธรรมนูญโจรกบฏไทย ร่างแบบโจรไทย ละเมิดหลักสากล และถือเป็นโมฆะ หรือไม่?

Thanaboon Chiranuvat
บทที่ว่าด้วยการร่างรัฐธรรมนูญ ที่กำลังจัดร่างกันอยู่นี้ มีสถานะที่ชอบด้วยกฏหมายหรือไม่? เพราะเหตุใด?





การร่างรัฐธรรมนูญตามแนวทางที่ทำกันอยู่นี้ สำเร็จยาก เพราะไปร่างให้มันขัด หรือแย้งกับ ธรรมนูญโลก คือ กติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมือง และ สิทธิในทางการเมือง ปีค.ศ.๑๙๖๖ รวมทั้งกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ปีค.ศ.๑๙๖๖..........ฯ

กติการะหว่างประเทศทั้งสองฉบับ ประเทศไทยมีพันธกรณีอยู่กับนานาชาติ ในวันที่ ๑ มกราคม ปีพ.ศ.๒๕๔๐ และในวันเดือนเดียวกัน ปีพ.ศ.๒๕๔๑ ตามลำดับ............ฯ
๑. แม้แต่สถานะของผู้ร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญ ก็มีสถานภาพทางกฏหมายที่ขัด หรือแย้ง กับกติการะหว่างประเทศทั้งสองฉบับ ที่กล่าวอ้างข้างต้น คือ ไม่ได้มีสถานภาพทางกฏหมายใดๆที่เป็นไปตามบทบัญญัติที่ ๑ ของกติการะหว่างประเทศดังกล่าวทั้งสองฉบับ.....ฯ

นั่นคือ มิได้มีที่มา ตามการแสดงเจตจำนงค์ของคนทั้งประเทศ ที่ให้อัตวินิจฉัยในการก่อเกิดแก่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญทั้งคณะ...............ฯ
[เกิดเป็นคณะกรรมการร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญ "เถื่อน" บนที่ราบแห่งนานาชาติ (International Plane)]........................ฯ

เมื่อต้องด้วยข้อกฏหมายดั่งที่ว่ามาจึงทำให้ตัว ผู้มีอำนาจในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ทำการยกร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญ ที่กลายเป็นเถื่อน ไม่ชอบด้วยกฏหมายในสถานภาพของตัวผู้ร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญเอง.....................ฯ

๒. การกำหนดกฏเกณฑ์ ที่ตราลงบนตราสำคัญของประเทศ คือ รัฐธรรมนูญ ที่ไปขัด หรือ แย้งกับ พันธกรณีที่ประเทศไทย มีอยู่กับนานาชาติดังกล่าวข้างต้น กลายเป็น การกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย หรือ ก่อให้เกิดการจัดทำกฏหมายเถื่อนๆ ยกกำลังสอง อย่างนี้แล้ว  รัฐธรรมนูญ เป็นเอกสารตราสาร ที่สำคัญของชาติ ไม่ใช่เหล็กไหล ที่ต้องไปตัดเอาด้วยคาถาอาคมในถ้ำด้วยวิทยาคม จึงต้องตกเป็นโมฆะ (Null & Void ) บนที่ราบแห่งนานาชาติ อย่างช่วยไม่ได้








รัฐธรรมนูญโจรกบฏไทย ร่างแบบโจรไทย ละเมิดหลักสากล และถือเป็นโมฆะ หรือไม่?

รัฐธรรมนูญโจรกบฏไทย ร่างแบบโจรไทย ละเมิดหลักสากล และถือเป็นโมฆะ หรือไม่?

Thanaboon Chiranuvat
บทที่ว่าด้วยการร่างรัฐธรรมนูญ ที่กำลังจัดร่างกันอยู่นี้ มีสถานะที่ชอบด้วยกฏหมายหรือไม่? เพราะเหตุใด?





การร่างรัฐธรรมนูญตามแนวทางที่ทำกันอยู่นี้ สำเร็จยาก เพราะไปร่างให้มันขัด หรือแย้งกับ ธรรมนูญโลก คือ กติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมือง และ สิทธิในทางการเมือง ปีค.ศ.๑๙๖๖ รวมทั้งกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ปีค.ศ.๑๙๖๖..........ฯ

กติการะหว่างประเทศทั้งสองฉบับ ประเทศไทยมีพันธกรณีอยู่กับนานาชาติ ในวันที่ ๑ มกราคม ปีพ.ศ.๒๕๔๐ และในวันเดือนเดียวกัน ปีพ.ศ.๒๕๔๑ ตามลำดับ............ฯ
๑. แม้แต่สถานะของผู้ร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญ ก็มีสถานภาพทางกฏหมายที่ขัด หรือแย้ง กับกติการะหว่างประเทศทั้งสองฉบับ ที่กล่าวอ้างข้างต้น คือ ไม่ได้มีสถานภาพทางกฏหมายใดๆที่เป็นไปตามบทบัญญัติที่ ๑ ของกติการะหว่างประเทศดังกล่าวทั้งสองฉบับ.....ฯ

นั่นคือ มิได้มีที่มา ตามการแสดงเจตจำนงค์ของคนทั้งประเทศ ที่ให้อัตวินิจฉัยในการก่อเกิดแก่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญทั้งคณะ...............ฯ
[เกิดเป็นคณะกรรมการร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญ "เถื่อน" บนที่ราบแห่งนานาชาติ (International Plane)]........................ฯ

เมื่อต้องด้วยข้อกฏหมายดั่งที่ว่ามาจึงทำให้ตัว ผู้มีอำนาจในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ทำการยกร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญ ที่กลายเป็นเถื่อน ไม่ชอบด้วยกฏหมายในสถานภาพของตัวผู้ร่างกฏหมายรัฐธรรมนูญเอง.....................ฯ

๒. การกำหนดกฏเกณฑ์ ที่ตราลงบนตราสำคัญของประเทศ คือ รัฐธรรมนูญ ที่ไปขัด หรือ แย้งกับ พันธกรณีที่ประเทศไทย มีอยู่กับนานาชาติดังกล่าวข้างต้น กลายเป็น การกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย หรือ ก่อให้เกิดการจัดทำกฏหมายเถื่อนๆ ยกกำลังสอง อย่างนี้แล้ว  รัฐธรรมนูญ เป็นเอกสารตราสาร ที่สำคัญของชาติ ไม่ใช่เหล็กไหล ที่ต้องไปตัดเอาด้วยคาถาอาคมในถ้ำด้วยวิทยาคม จึงต้องตกเป็นโมฆะ (Null & Void ) บนที่ราบแห่งนานาชาติ อย่างช่วยไม่ได้








รัฐธรรมนูญโจรกบฏไทย ร่างแบบโจรไทย ละเมิดหลักสากล และถือเป็นโมฆะ หรือไม่?

Sunday, April 5, 2015

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

รับฟังเสียงจากรายงานของ VOA (Voice of America)
ไม่กี่ชั่วโมงหลังจากรัฐบาลไทยยกเลิกกฏอัยการศึก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44 แทน ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ Zeid Ra’ad Al Hussein ก็ได้มีแถลงการณ์ตำหนิรัฐบาลไทย โดยระบุว่าการยกเลิกกฏอัยการศึกครั้งนี้ยังไม่ใช่เรื่องน่ายินดี เพราะมาตรา 44 ที่นำใช้แทนนั้นมีความเข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก และมีความคลุมเครือ อีกทั้งยังดูเหมือนเป็นการรวมศูนย์อำนาจไว้ทั้งหม

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

รับฟังเสียงจากรายงานของ VOA (Voice of America)
ไม่กี่ชั่วโมงหลังจากรัฐบาลไทยยกเลิกกฏอัยการศึก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44 แทน ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ Zeid Ra’ad Al Hussein ก็ได้มีแถลงการณ์ตำหนิรัฐบาลไทย โดยระบุว่าการยกเลิกกฏอัยการศึกครั้งนี้ยังไม่ใช่เรื่องน่ายินดี เพราะมาตรา 44 ที่นำใช้แทนนั้นมีความเข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก และมีความคลุมเครือ อีกทั้งยังดูเหมือนเป็นการรวมศูนย์อำนาจไว้ทั้งหม

"คสช.​กำลังละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างรุนแรง" สุนัย จุลพงศธร 5 04 2015 รู้เขารู้เรา ภาคต่างประเทศ

รู้เขารู้เรา ภาคต่างประเทศ สุนัย จุลพงศธร 5 04 2015 "คสช.​กำลังละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างรุนแรง" สุนัย จุลพงศธร 5 04 2015 รู้เขารู้เรา ภาคต่างประเทศ

"คสช.​กำลังละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างรุนแรง" สุนัย จุลพงศธร 5 04 2015 รู้เขารู้เรา ภาคต่างประเทศ

รู้เขารู้เรา ภาคต่างประเทศ สุนัย จุลพงศธร 5 04 2015 "คสช.​กำลังละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างรุนแรง" สุนัย จุลพงศธร 5 04 2015 รู้เขารู้เรา ภาคต่างประเทศ

นักกฎหมายระหว่างประเทศ เตือน คสช.​ว่า "รัฐบาลสหรัฐ" ล็อคเป้าเล่นงานคณะเผด็จการไทย (มาระยะหนึ่งแล้ว)

นักกฎหมายระหว่างประเทศ เตือน คสช.​ว่า "รัฐบาลสหรัฐ" ล็อคเป้าเล่นงานคณะเผด็จการไทย (มาระยะหนึ่งแล้ว)
การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ (Secretary of State) ทำคำประกาศให้ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ออกประกาศในวันที่ ๔ สิงหาคม ปีค.ศ.๒๐๑๑ เมื่อนำมาวิพากษ์ท่านผู้อ่านเกิดความงุนงง จึงขอชี้แจงให้เห็นโดยแจ้งชัดด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้เรื่อง ที่ท่านผู้อ่านงง จะหายงง เมื่ออ่านข้อความต่อไปนี้: ............................ฯ ๑.ในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของ สหรัฐอเมริกา เป็นอำนาจ โดยเฉพาะของฝ่ายบริหาร (the Executive) ที่ฝ่ายนิติบัญญัติ (Legislatures) หรือ ฝ่ายตุลาการ (the Judiciary) ไม่อาจเข้าไปสอดแทรกใดๆได้ ในการที่ฝ่ายบริหาร ดำเนินนโยบายต่างประเทศในต่างประเทศ หรือต่อต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาใช้หลักการปกครองประเทศในรูป แบบการแบ่งแยกอำนาจ (the Separation of Powers) โดยเคร่งครัด จะเห็นได้จากคำพิพากษาของศาล Supreme Court (ศาลรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา) ที่อธิบายถึงอำนาจของฝ่ายบริหาร ในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ ที่ไม่ว่าฝ่ายใดในการบริหารประเทศ ที่เหลืออยู่จะเข้าไปสอดแทรกได้ ยกตัวอย่างเช่นคดี United States v. Pink..............................................................................................................ฯ ๒.ในการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ ในต่างประเทศ ฝ่ายบริหาร จะไปจัดตั้งหน่วยข่าวกรอง หรือหน่วยสืบราชการลับ ก็เพื่อประโยชน์ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาโดย รวม.....................................................................................................................ฯ
๓. เมื่อเกิดหน่วยข่าวกรอง และ หน่วยสืบราชการลับ ฝ่ายบริหาร ย่อมมีอำนาจโดยอิสระ ที่จะก่อตั้งหน่วยงานของตน มาตรวจสอบการทำงานของหน่วยสืบราชการลับ หรือ หน่วยข่าวกรอง และยิ่งมีหน่วยตรวจสอบมากเท่าใด? ความแม่นยำในการคาดการณ์ (Projection) ในสถานการณ์ ที่จะเกิดขึ้นในประเทศหนึ่งประเทศใด ย่อมมีความแม่นยำตามลำดับ ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นายพลตรี Stevenson ก่อตั้งหน่วย SOS เป็นหน่วยงานต่อต้าน ระบบของฮิตเลอร์ และ จักรวรรดิ์นิยมญี่ปุ่น จนประสพผลสำเร็จ ท่านอาจไปหาความรู้นี้ได้จาก ยูทูป โดยการพิมพ์ชื่อหน่วยงาน SOS ลงไป...............................................................................................ฯ ๔. การที่รัฐมนตรีต่างประเทศ หรือ (รัฐมนตรีแม่บ้าน, Secretary of State) ขอออกคำประกาศนี้ในปีค.ศ.๒๐๑๑ นั่นคือ พุ่งเป้าเข้าหาประเทศไทย ที่มีที่ตั้งอยู่ใน Pacific Rims ที่อยู่กึ่งกลางโลก และ เป็นประเทศ ที่มียุทธศาสตร์ที่ตั้งในเชิงการเมือง (the Geographical & Political Strategic Location) ของโลก และ เป็นปีเดียวกัน กับที่ประเทศไทย ได้ให้สัตยาบันแก่ Convention Against Corruption, 2003 เมื่อเป็นดังนี้ แสดงว่าสหรัฐอเมริกา ได้ประเมินสถานการณ์ในประเทศไทย ไปเรียบร้อยแล้ว จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เมื่ออ่านความเห็นนี้แล้ว ท่านผู้อ่านคงจะเข้าใจ และ หายงง.