PPD's Official Website

Showing posts with label ม. 44. Show all posts
Showing posts with label ม. 44. Show all posts

Friday, May 8, 2015

เมื่อทหาร เห็นประชาชนเป็นศัตรู ทำผิด แล้วย่อมหวาดระแวง กลัวประชาชนลุกทวงอำนาจคืน

มีข้อความพี่น้องฝากมา  ผมผ่านมาให้พี่น้องพิจารณานะครับ



โปรดฟัง...โปรดทราบ....
     เพื่อนพ้องน้องพี่ที่เคารพทุกท่าน...มีเรื่องที่จะเตือนภัยให้แก่พวกเราทุกๆท่าน...ภาพข้างบนที่เห็นทหารบุกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ...นี่คือยุทธวิธีหนึ่ง..ในโครงการ "กวาดขยะ" ของฝ่ายรัฐบาลอย่างหนึ่ง
     ได้รับรายงานด่วน...เมื่อ 20 นาทีที่ผ่านมาว่า...ทางรัฐบาลจะส่งหน่วยสีบหาข่าวลับ...ลงพื้นที่ในภาคอิสานชนิดปูพรมพื้นที่ทีเดียว...โดยมีขั้นตอนดังนี้...
    1.ส่งหน่วยหาข่าวลับ..ลงอำเภอทุกอำเภอๆละไม่ต่ำกว่า 2 คน...ให้เต็มพื้นที่อิสานภายในวันที่ 25 พค.2558...เพื่อสอบถามข้อมูลการเคลื่อนไหว...ฝ่ายตรงข้ามในการจัดกืจกรรมรวมกลุ่มกัน...เรื่องอะไร...ที่ไหน..เมื่อไหร่..อย่างไร...รายงาน "หน่วยเคลื่อนที่เร็ว"
    2.การกระจายหน่วยสืบค้นหาข่าวนี้...ให้ฝังตัวนอกเครื่องแบบในทุกๆอำเภอ...หาเช่าบ้านพักสร้างความคุ้นเคยชาวบ้าน..ฝังตัวหาข่าวคนเสื้อแดงที่อยู่ในพื้นที่...หากมีการชุมนุมหรือจัดกิจกรรมที่ส่อไปในทางการเมือง...การเคลื่อนไหวให้รายงาน...หน่วยเคลื่อนที่เร็ว...
     3.หากท้องที่ใดมีการจัดกิจกรรม...พบปะหรือชุมนุมประชุมสัมมนา...หน่วยเคลื่อนที่เร็วเข้าพื้นที่ในขณะจัดกิจกรรม...จัดการได้เต็มที่เหมือนการเข้าไปในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ...และใช้มาตรการตาม ม.44 ได้อย่างเต็มที่...หากบุคคลใดมีการขัดขืนให้ใช้มาตรการเด็ดขาด..หรือให้จัดการสังหารได้ตาม ม.44...โดยเบี่ยงเบนประเด็นเป็นการต่อสู้ขัดขืน..ให้วิสามัญมาตกรรมได้ทันที..
    4. ให้ช่วยแชร์ข้อความนี้...กระจายให้เต็มพื้นที่ภาคอิสานโดยด่วนด้วย...จักขอบคุณมาก..

        ด้วยความปรารถนาดีต่อทุกท่าน...จากใจจริง...ขอให้มีความปลอดภัยทุกๆคน.



Sunday, April 19, 2015

กบฏตู่ ปลดข้าราชการประจำ ล็อตแรก ไม่เห็นมีใครว่า รังแกข้าราชการประจำ นกหวีดอยู่หนายยยย....

กบฏตู่ ปลดข้าราชการประจำ ล็อตแรก ไม่เห็นมีใครว่า รังแกข้าราชการประจำ นกหวีดอยู่หนายยยย....
วันที่ 17 เม.ย. เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๖/๒๕๕๘ เรื่อง การกำหนดตำแหน่งเพิ่มและการแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่ง ระบุว่า

เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการในกระทรวงศึกษาธิการมีประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปประเทศตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษา ความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงมีคำสั่ง ดังต่อไปนี้

1. ให้ นางสุทธศรี วงษ์สมาน พ้นจากตำแหน่ง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และให้
ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสภาการศึกษา

2. ให้ นายพินิติ รตะนานุกูล พ้นจากตำแหน่ง เลขาธิการสภาการศึกษา และให้
ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

3. ให้ นายกำจร ตติยกวี พ้นจากตำแหน่ง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
และให้ดำรงตำแหน่ง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

4. ให้ นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร พ้นจากตำแหน่ง เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน และให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ

5. ให้ นายอดินันท์ ปากบารา พ้นจากตำแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
และให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

6. ให้ นางรัตนา ศรีเหรัญ พ้นจากตำแหน่ง รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

7. ให้ข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งข้างต้นปฏิบัติหน้าที่ตามตำแหน่งตั้งแต่วันที่คำสั่งนี้
ใช้บังคับเป็นต้นไป

โดยให้สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนสำนักงบประมาณและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการเกี่ยวกับตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการดังกล่าวให้เรียบร้อยโดยด่วนและให้นายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งหรือพ้นจากตำแหน่งตามคำสั่งนี้ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติมาตรา๒๔ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557

คำสั่งนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 16 เมษายน พุทธศักราช 2558

Friday, April 17, 2015

ทหารไทยที่กร่าง อำนาจตามมาตรา 44 ใครให้พวกเอ็ง เอ็งแดกเงินภาษีประชาชน แล้วยกตนมีอำนาจชี้นิ้วทุกเรื่อง

ทหารไทยที่กร่าง อำนาจตามมาตรา 44 ใครให้พวกเอ็ง เอ็งแดกเงินภาษีประชาชน แล้วยกตนมีอำนาจชี้นิ้วทุกเรื่อง

ชาวบ้านจอดรถขวางแล้วลืมกุญแจเลยย้ายไม่ได้ ทหารของพระราชาก็ใช้ ม.44 กร่างใส่เลยครับ แหมมมม ใหญ่คับฟ้าจริงๆเลยยย

Posted by หยุดดัดจริตประเทศไทย on Thursday, April 16, 2015
ทหารไทยที่กร่าง อำนาจตามมาตรา 44 ทำผิดกฎหมาย แถมท้าทายเจ้าหน้าที่ตำรวจ

ยุคนี้เขาใหญ่

Posted by อานันท์ เทพสิทธิ์ on Friday, April 17, 2015

Friday, April 10, 2015

เจาะลึก ม. 44 แบบแสบ ๆ มัน ๆ สไตล์ เจาะข่าวตื้น

SpokeDark TV ขอต้อนรับเข้าสู่เจาะข่าวตื้น 150 กับควันหลง April's Fool Day ที่มีเรื่องให้คนไทยต้องงงว่าจริงหรือหลอกอีกครั้งกับการประกาศยกเลิกกฎอัยการศึก แล้วประกาศมาตรา 44 ขึ้นมาแทน เราจะมาอ่านมาตราดังกล่าวแบบตื้นๆ ให้ท่านฟังว่ามันดีอย่างไร แถมยังละม้ายคล้ายคลึงกับมาตรา 17 ที่เคยใช้เมื่อรัฐประหารไม่นานมานี้ที่บางคนว่าเหมือนมาตรา 16 ของฝรั่งเศสยังกับแกะ ติดตามกันได้กับเจาะข่าวตื้นเทปนี้เลยนะฮ้าว์ฟฟ

ขอต้อนรับเข้าสู่เจาะข่าวตื้น 150 กับควันหลง April's Fool Day ที่มีเรื่องให้คนไทยต้องงงว่าจริงหรือหลอกอีกครั้งกับการประกา...

Posted by SpokeDark TV on Friday, April 10, 2015

Tuesday, April 7, 2015

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกคำสั่งที่3/2558 เรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44[1]แทนการใช้กฎอัยการศึก ที่ยกเลิกไปเมื่อวันที่ 1เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมานั้น

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเห็นว่า การประกาศใช้คำสั่งที่ 3/2558ดังกล่าว ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีอำนาจเหนืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการรวมถึงคำสั่งใดๆที่เกี่ยวเนื่องกับบทบัญญัติข้างต้น ขัดต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจ ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยและขัดต่อหลักการพื้นฐานทางด้านสิทธิมนุษยชนด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

1. การให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจเหนือ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ เป็นการรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ขัดต่อหลักนิติรัฐ ที่แบ่งแยกอำนาจเพื่อถ่วงดุล ป้องกันการใช้อำนาจปกครองตามอำเภอใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของประชาชน อีกทั้งการกำหนดให้การกระทำตามคำสั่งฉบับนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ย่อมเป็นการใช้อำนาจโดยความประสงค์หลีกเลี่ยงการตรวจสอบของสถาบันตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ตามคำสั่งดังกล่าว

2. การออกคำสั่งฉบับดังกล่าวเปิดโอกาสให้มีการใช้อำนาจของทหารในฐานะ “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย”กระทำการใดๆตามคำสั่งฉบับดังกล่าว เช่น ออกคำสั่งเรียก บุคคล จับกุม ค้น ห้ามการเสนอข่าว ฯ รวมถึงการทำหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานสอบสวน โดยการพิจารณาคดีของพลเรือนในข้อกล่าวหาตั้งแต่มาตรา107 ถึง 112 และมาตรา 113 ถึง 118 ประมวลกฎหมายอาญา และความผิดตามประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังคงถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้เขตอำนาจของศาลทหาร ตาม ประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557ฉบับที่38/2557และฉบับที่ 50/2557 ซึ่งขัดต่อหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานและสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมโดยตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งได้รับรองไว้ตามปฏิญญาสากลแห่งสหประชาชาติ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ในหลายๆด้านเช่น สิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เสรีภาพของสื่อมวลชน สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลทำให้สิทธิเสรีภาพของประชาชนตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดมากยิ่งขึ้นและส่งผลโดยตรงต่อการฟื้นฟูประชาธิปไตยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

ดังนั้น สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน องค์กร และบุคคลดังมีรายชื่อท้ายแถลงการณ์ฉบับนี้ ในฐานะที่เป็นนักกฎหมาย ทนายความ และบุคลากรที่ทำงานด้านกฎหมายและสิทธิมนุษยชน มีความห่วงกังวลอย่างยิ่งต่อการใช้อำนาจที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดและละเลยต่อหลักกฎหมายโดยสิ้นเชิง จึงขอให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ยกเลิกคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 3/2558 และยุติการใช้อำนาจโดยอาศัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)ฯ มาตรา 44 ในการบริหารประเทศเพื่อเป็นหลักประกันว่าสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะไม่ถูกละเมิดโดยอำเภอใจจากอำนาจที่ไร้การถ่วงดุลและอยู่เหนือการตรวจสอบ

ด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

1. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)

2. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)

3. เครือข่ายนักวิชาการเพื่อสังคมและองค์กรชุมชนภาคใต้

4. นายสมชาย หอมลออ นักกฎหมาย

5. นายไพโรจน์ พลเพชร นักกฎหมาย

6. นายแสงชัย รัตนเสรีวงษ์ ทนายความ

7. นายชัยรัตน์ แสงอรุณ ทนายความ

8. นายถาวร ปิยะวงศ์รุ่งเรือง ทนายความ

9. นายรัษฎา มนูรัษฎา ทนายความ

10. นายสุรศิษฏ์ เหลืองอรัญนภา ทนายความ

11. นายศราวุฒิ ประทุมราช นักกฎหมาย

12. นายสุรชัย ตรงงาม ทนายความ

13. นายสุมิตรชัย หัตถสาร ทนายความ

14. นางสาว ส.รัตนมณี พลกล้า ทนายความ

15. นายสมนึก ตุ้มสุภาพ ทนายความ

16. นางอำพร สังข์ทอง ทนายความ

17. นางสาวเยาวลักษ์ อนุพันธุ์ ทนายความ

18. นางสาวดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล นักกฎหมาย

19. นางสาวปรีดา ทองชุมนุม ทนายความ

20. นางสาวนภาพร สงปรางค์ ทนายความ

21. นายธีรพันธุ์ พันธุ์คีรี ทนายความ

22. นายสงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ นักกฎหมาย

23. นางสาวจันทร์จิรา จันทร์แผ้ว ทนายความ

24. นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ทนายความ

25. นายพนม บุตะเขียว ทนายความ

26. นางสาวคอรีเยาะ มานุแช ทนายความ

27. นางสาวประดิษฐา ปริยแก้วฟ้า นักกฎหมาย

28. นางสาวอัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์ นักกฎหมาย

29. นางสาวพุทธิณี โกพัฒน์ตา นักกฎหมาย

30. นางสาวผรัณดา ปานแก้ว ทนายความ

31. นายสนธยา โคตปัญญา นักกฎหมาย

32. นายอภิราชย์ ขันธ์เสน นักกฎหมาย

33. นางสาวโรสนานี หะยีสะแม นักกฎหมาย

34. นางสาววลีรัตน์ ชูวา นักกฎหมาย

35. นางสาวคุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์ ทนายความ

36. นางสาวมนทนา ดวงประภา ทนายความ

37. นางสาววราภรณ์ อุทัยรังษี ทนายความ

38. นางสาวอัญญาณี ไชยชมภู นักกฎหมาย

39. นางสาวภาวิณี ชุมศรี ทนายความ

40. นายธรธรร การมั่งมี นักกฎหมาย

41. นายอับดุลเลาะห์ หะยีอาบู ทนายความ

42. นายกฤษดา ขุนณรงค์ ทนายความ

43. นางสาวพูนสุข พูนสุขเจริญ ทนายความ

44. นางสาวสุพรรษา มะเหร็ม ทนายความ

45. นายดนัยกฤต ศรีคาน นักกฎหมาย

46. นางสาวชันษา สุพรรณเมือง นักกฎหมาย

47. นางสาวอัชฌา สงฆ์เจริญ นักกฎหมาย

48. นางสาวอุมาพร สังขะเลขา นักกฎหมาย

49. นายอัมรินทร์ สายจันทร์ นักกฎหมาย

50. นางสาวสมสกุล ศรีเมธีกุล ทนายความ

51. นายวีรวัฒน์ อบโอ ทนายความ

52. นางสาวอังคณา อนุจร ทนายความ

53. นายนรากร นาเมืองรักษ์ นักกฎหมาย

54. นางสาววราภรณ์ อินทนนท์ นักกฎหมาย

55. นางสาวจันทิมา ตรีเลิศ นักกฎหมาย

56. นายมนตรี อัจฉริยสกุลชัย นักกฎหมาย

57. นางสาวมึดา นาวานาถ นักกฎหมาย

58. นางสาวจริงจัง นะแส นักกฎหมาย

59. นางสาวฐิติวรดา ธรรมพิริยะกุล นักกฎหมาย

60. นายอิสระพงศ์ เวียงวงษ์ นักกฎหมาย

61. นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาดำ ทนายความ

62. นางสาวแววตา สาเลศ นักกฎหมาย

63. นายเจษฎา จางจันทร์ ทนายความ

64. นางสาวอชิชญา อ๊อตวงษ์ นักกฎหมาย

65. นางสาวกาญจนา อัครชาติ นักกฎหมาย

66. นายกฤษดา ชีช่วง ทนายความ

67. นายบัณฑิต หอมเกษ นักกฎหมาย

68. นางสาวเฉลิมศรี ประเสริฐศรี นักกฎหมาย

69. นายสุทธิเกียรติ คชโส นักกฎหมาย

70. นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ ทนายความ

71. นายสุทธิเกียรติ ธรรมดุล ทนายความ

72. นางสาวมนัญญา พูลศิริ นักกฎหมาย

73. นางสาวอุทุมพร ดวงแก้ว นักกฎหมาย

74. นายวัชระศักดิ์ วิจิตรจันทร์ นักกฎหมาย

75. นายจตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นักกฎหมาย

76. นางสาวขวัญหทัย ปทุมถาวรสกุล นักกฎหมาย

77. นางสาวมาซีเต๊าะ หมันหล๊ะ นักกฎหมาย

78. นางสาวศิวาพร ฝอดสูงเนิน นักกฎหมาย

79. นายกิตติชัย จงไกรจักร นักกฎหมาย

80. นายอภิสาร ยานุช ทนายความ

81. นางณัฐาศิริ เบิร์กแมน ทนายความ

82. นายสุริยงค์ คงกระพันธ์ ทนายความ

83. นายฐิติรัช สร้อยสุวรรณ นักกฎหมาย

84. นางสาวหนึ่งฤทัย คชสาร นักกฎหมาย

85. นางสาวสุธาทิพย์ อมปาน นักกฎหมาย

86. นางสาวณัฐวดี เต็งพานิชกุล นักกฎหมาย

87. นายสากีมัน เบญจเดชา ทนายความ

88. นายปภพ เสียมหาญ นักกฎหมาย

89. นางสาวปรียาภรณ์ ขันกำเหนิด นักกฎหมาย

90. นางสาวบุศรา สิงหบุตร นักกฎหมาย

91. นายวนวัฒก์ สัมมานิธิ นักกฎหมาย

92. นายอนุชา วินทะไชย นักสิทธิมนุษยชน

93. นางสาวหทัยกานต์ เรณูมาศ

94. นางสาวสิริภาภรณ์ ชื่นศรี

95. นางสาวสุภาภรณ์ มาลัยลอย

96. นางไพรัตน์ จันทร์ทอง

97. นางสาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์

98. นางสาวยลดา ธนกรสกุล

99. นายพนม ทะโน

100. นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา

101. นางสาวชนิดาภา ประกายเพชร

102. นายวศิน ไป่ทาฟอง ทนายความ

103. นายพิจิตร์ สุขะยุวนะ ทนายความ

104. นายวิสุทธิ์ ฉันทแดนสุวรรณ นักกฎหมาย

105. นายวณัฐ โคสาสุ นักกฎหมาย

106. นายนนทวุฒิ ราชกาวี นักกฎหมาย

107. นายพร้อมพงษ์ วงศ์ราษฎร์ นักกฎหมาย

108. นางสาวนวศร ลิ่มสกุล นักกฎหมาย

109. นายวิศรุต คิดดี นักกฎหมาย

110. นางสาวอมรรัตน์ คลังกำเหนิด นักกฎหมาย

111. นายอัดฮา โล๊ะมะ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

112. นายมาหะมะซูไลนี เต๊ะมาลอ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

113. นางสาวนพรักษ์ ยังเอี่ยม นักกฎหมาย

114. นางสาวนิจนิรันดร์ อวะภาค นักกฎหมาย

115. นางสาวศิริกาญจน์ เจริญศิริ นักกฎหมาย

116. นายสิทธิพร ภาศภิรมย์ ทนายความ

117. นายปรีดา นาคผิว ทนายความ

118. นายนัสเซอร์ อาจวาริน ทนายความ

119. นายวรุตม์ บุณฑริก ทนายความ

120. นางสาวจิรารัตน์ มูลศิริ ทนายความ

121. นางสาวลืนหอม สายฟ้า นักกฎหมาย

122. นายวุฒิชัย พากดวงใจ นักกฎหมาย

123. นายจิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักกฎหมาย

124. นายกิตติศักดิ์ เที่ยงตรง ทนายควม

125. ว่าที่ ร.ต. ชวนันท์ กนกวิจิตรศิลป์ ทนายความ

126. นายอานนท์ ศรีบุญโรจน์ นักวิชาการด้านนักกฎหมาย

127. นายเจษฎา ทองขาว นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

128. นางสาวเสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

129. นายทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

130. นายขรรค์เพชร ชายทวีป นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

131. รศ.ดร.ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์ นักวิชาการ

132. นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ ทนายความ

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกคำสั่งที่3/2558 เรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44[1]แทนการใช้กฎอัยการศึก ที่ยกเลิกไปเมื่อวันที่ 1เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมานั้น

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเห็นว่า การประกาศใช้คำสั่งที่ 3/2558ดังกล่าว ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีอำนาจเหนืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการรวมถึงคำสั่งใดๆที่เกี่ยวเนื่องกับบทบัญญัติข้างต้น ขัดต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจ ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยและขัดต่อหลักการพื้นฐานทางด้านสิทธิมนุษยชนด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

1. การให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจเหนือ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ เป็นการรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ขัดต่อหลักนิติรัฐ ที่แบ่งแยกอำนาจเพื่อถ่วงดุล ป้องกันการใช้อำนาจปกครองตามอำเภอใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของประชาชน อีกทั้งการกำหนดให้การกระทำตามคำสั่งฉบับนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ย่อมเป็นการใช้อำนาจโดยความประสงค์หลีกเลี่ยงการตรวจสอบของสถาบันตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ตามคำสั่งดังกล่าว

2. การออกคำสั่งฉบับดังกล่าวเปิดโอกาสให้มีการใช้อำนาจของทหารในฐานะ “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย”กระทำการใดๆตามคำสั่งฉบับดังกล่าว เช่น ออกคำสั่งเรียก บุคคล จับกุม ค้น ห้ามการเสนอข่าว ฯ รวมถึงการทำหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานสอบสวน โดยการพิจารณาคดีของพลเรือนในข้อกล่าวหาตั้งแต่มาตรา107 ถึง 112 และมาตรา 113 ถึง 118 ประมวลกฎหมายอาญา และความผิดตามประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังคงถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้เขตอำนาจของศาลทหาร ตาม ประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557ฉบับที่38/2557และฉบับที่ 50/2557 ซึ่งขัดต่อหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานและสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมโดยตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งได้รับรองไว้ตามปฏิญญาสากลแห่งสหประชาชาติ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ในหลายๆด้านเช่น สิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เสรีภาพของสื่อมวลชน สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลทำให้สิทธิเสรีภาพของประชาชนตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดมากยิ่งขึ้นและส่งผลโดยตรงต่อการฟื้นฟูประชาธิปไตยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

ดังนั้น สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน องค์กร และบุคคลดังมีรายชื่อท้ายแถลงการณ์ฉบับนี้ ในฐานะที่เป็นนักกฎหมาย ทนายความ และบุคลากรที่ทำงานด้านกฎหมายและสิทธิมนุษยชน มีความห่วงกังวลอย่างยิ่งต่อการใช้อำนาจที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดและละเลยต่อหลักกฎหมายโดยสิ้นเชิง จึงขอให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ยกเลิกคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 3/2558 และยุติการใช้อำนาจโดยอาศัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)ฯ มาตรา 44 ในการบริหารประเทศเพื่อเป็นหลักประกันว่าสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะไม่ถูกละเมิดโดยอำเภอใจจากอำนาจที่ไร้การถ่วงดุลและอยู่เหนือการตรวจสอบ

ด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

1. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)

2. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)

3. เครือข่ายนักวิชาการเพื่อสังคมและองค์กรชุมชนภาคใต้

4. นายสมชาย หอมลออ นักกฎหมาย

5. นายไพโรจน์ พลเพชร นักกฎหมาย

6. นายแสงชัย รัตนเสรีวงษ์ ทนายความ

7. นายชัยรัตน์ แสงอรุณ ทนายความ

8. นายถาวร ปิยะวงศ์รุ่งเรือง ทนายความ

9. นายรัษฎา มนูรัษฎา ทนายความ

10. นายสุรศิษฏ์ เหลืองอรัญนภา ทนายความ

11. นายศราวุฒิ ประทุมราช นักกฎหมาย

12. นายสุรชัย ตรงงาม ทนายความ

13. นายสุมิตรชัย หัตถสาร ทนายความ

14. นางสาว ส.รัตนมณี พลกล้า ทนายความ

15. นายสมนึก ตุ้มสุภาพ ทนายความ

16. นางอำพร สังข์ทอง ทนายความ

17. นางสาวเยาวลักษ์ อนุพันธุ์ ทนายความ

18. นางสาวดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล นักกฎหมาย

19. นางสาวปรีดา ทองชุมนุม ทนายความ

20. นางสาวนภาพร สงปรางค์ ทนายความ

21. นายธีรพันธุ์ พันธุ์คีรี ทนายความ

22. นายสงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ นักกฎหมาย

23. นางสาวจันทร์จิรา จันทร์แผ้ว ทนายความ

24. นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ทนายความ

25. นายพนม บุตะเขียว ทนายความ

26. นางสาวคอรีเยาะ มานุแช ทนายความ

27. นางสาวประดิษฐา ปริยแก้วฟ้า นักกฎหมาย

28. นางสาวอัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์ นักกฎหมาย

29. นางสาวพุทธิณี โกพัฒน์ตา นักกฎหมาย

30. นางสาวผรัณดา ปานแก้ว ทนายความ

31. นายสนธยา โคตปัญญา นักกฎหมาย

32. นายอภิราชย์ ขันธ์เสน นักกฎหมาย

33. นางสาวโรสนานี หะยีสะแม นักกฎหมาย

34. นางสาววลีรัตน์ ชูวา นักกฎหมาย

35. นางสาวคุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์ ทนายความ

36. นางสาวมนทนา ดวงประภา ทนายความ

37. นางสาววราภรณ์ อุทัยรังษี ทนายความ

38. นางสาวอัญญาณี ไชยชมภู นักกฎหมาย

39. นางสาวภาวิณี ชุมศรี ทนายความ

40. นายธรธรร การมั่งมี นักกฎหมาย

41. นายอับดุลเลาะห์ หะยีอาบู ทนายความ

42. นายกฤษดา ขุนณรงค์ ทนายความ

43. นางสาวพูนสุข พูนสุขเจริญ ทนายความ

44. นางสาวสุพรรษา มะเหร็ม ทนายความ

45. นายดนัยกฤต ศรีคาน นักกฎหมาย

46. นางสาวชันษา สุพรรณเมือง นักกฎหมาย

47. นางสาวอัชฌา สงฆ์เจริญ นักกฎหมาย

48. นางสาวอุมาพร สังขะเลขา นักกฎหมาย

49. นายอัมรินทร์ สายจันทร์ นักกฎหมาย

50. นางสาวสมสกุล ศรีเมธีกุล ทนายความ

51. นายวีรวัฒน์ อบโอ ทนายความ

52. นางสาวอังคณา อนุจร ทนายความ

53. นายนรากร นาเมืองรักษ์ นักกฎหมาย

54. นางสาววราภรณ์ อินทนนท์ นักกฎหมาย

55. นางสาวจันทิมา ตรีเลิศ นักกฎหมาย

56. นายมนตรี อัจฉริยสกุลชัย นักกฎหมาย

57. นางสาวมึดา นาวานาถ นักกฎหมาย

58. นางสาวจริงจัง นะแส นักกฎหมาย

59. นางสาวฐิติวรดา ธรรมพิริยะกุล นักกฎหมาย

60. นายอิสระพงศ์ เวียงวงษ์ นักกฎหมาย

61. นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาดำ ทนายความ

62. นางสาวแววตา สาเลศ นักกฎหมาย

63. นายเจษฎา จางจันทร์ ทนายความ

64. นางสาวอชิชญา อ๊อตวงษ์ นักกฎหมาย

65. นางสาวกาญจนา อัครชาติ นักกฎหมาย

66. นายกฤษดา ชีช่วง ทนายความ

67. นายบัณฑิต หอมเกษ นักกฎหมาย

68. นางสาวเฉลิมศรี ประเสริฐศรี นักกฎหมาย

69. นายสุทธิเกียรติ คชโส นักกฎหมาย

70. นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ ทนายความ

71. นายสุทธิเกียรติ ธรรมดุล ทนายความ

72. นางสาวมนัญญา พูลศิริ นักกฎหมาย

73. นางสาวอุทุมพร ดวงแก้ว นักกฎหมาย

74. นายวัชระศักดิ์ วิจิตรจันทร์ นักกฎหมาย

75. นายจตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นักกฎหมาย

76. นางสาวขวัญหทัย ปทุมถาวรสกุล นักกฎหมาย

77. นางสาวมาซีเต๊าะ หมันหล๊ะ นักกฎหมาย

78. นางสาวศิวาพร ฝอดสูงเนิน นักกฎหมาย

79. นายกิตติชัย จงไกรจักร นักกฎหมาย

80. นายอภิสาร ยานุช ทนายความ

81. นางณัฐาศิริ เบิร์กแมน ทนายความ

82. นายสุริยงค์ คงกระพันธ์ ทนายความ

83. นายฐิติรัช สร้อยสุวรรณ นักกฎหมาย

84. นางสาวหนึ่งฤทัย คชสาร นักกฎหมาย

85. นางสาวสุธาทิพย์ อมปาน นักกฎหมาย

86. นางสาวณัฐวดี เต็งพานิชกุล นักกฎหมาย

87. นายสากีมัน เบญจเดชา ทนายความ

88. นายปภพ เสียมหาญ นักกฎหมาย

89. นางสาวปรียาภรณ์ ขันกำเหนิด นักกฎหมาย

90. นางสาวบุศรา สิงหบุตร นักกฎหมาย

91. นายวนวัฒก์ สัมมานิธิ นักกฎหมาย

92. นายอนุชา วินทะไชย นักสิทธิมนุษยชน

93. นางสาวหทัยกานต์ เรณูมาศ

94. นางสาวสิริภาภรณ์ ชื่นศรี

95. นางสาวสุภาภรณ์ มาลัยลอย

96. นางไพรัตน์ จันทร์ทอง

97. นางสาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์

98. นางสาวยลดา ธนกรสกุล

99. นายพนม ทะโน

100. นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา

101. นางสาวชนิดาภา ประกายเพชร

102. นายวศิน ไป่ทาฟอง ทนายความ

103. นายพิจิตร์ สุขะยุวนะ ทนายความ

104. นายวิสุทธิ์ ฉันทแดนสุวรรณ นักกฎหมาย

105. นายวณัฐ โคสาสุ นักกฎหมาย

106. นายนนทวุฒิ ราชกาวี นักกฎหมาย

107. นายพร้อมพงษ์ วงศ์ราษฎร์ นักกฎหมาย

108. นางสาวนวศร ลิ่มสกุล นักกฎหมาย

109. นายวิศรุต คิดดี นักกฎหมาย

110. นางสาวอมรรัตน์ คลังกำเหนิด นักกฎหมาย

111. นายอัดฮา โล๊ะมะ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

112. นายมาหะมะซูไลนี เต๊ะมาลอ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

113. นางสาวนพรักษ์ ยังเอี่ยม นักกฎหมาย

114. นางสาวนิจนิรันดร์ อวะภาค นักกฎหมาย

115. นางสาวศิริกาญจน์ เจริญศิริ นักกฎหมาย

116. นายสิทธิพร ภาศภิรมย์ ทนายความ

117. นายปรีดา นาคผิว ทนายความ

118. นายนัสเซอร์ อาจวาริน ทนายความ

119. นายวรุตม์ บุณฑริก ทนายความ

120. นางสาวจิรารัตน์ มูลศิริ ทนายความ

121. นางสาวลืนหอม สายฟ้า นักกฎหมาย

122. นายวุฒิชัย พากดวงใจ นักกฎหมาย

123. นายจิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักกฎหมาย

124. นายกิตติศักดิ์ เที่ยงตรง ทนายควม

125. ว่าที่ ร.ต. ชวนันท์ กนกวิจิตรศิลป์ ทนายความ

126. นายอานนท์ ศรีบุญโรจน์ นักวิชาการด้านนักกฎหมาย

127. นายเจษฎา ทองขาว นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

128. นางสาวเสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

129. นายทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

130. นายขรรค์เพชร ชายทวีป นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

131. รศ.ดร.ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์ นักวิชาการ

132. นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ ทนายความ

เอาอีกแล้ว สวนดุสัตว์โพลล์ บอกประชาชน 41% สนับสนุน ม. 44 เฮ๊ย แน่จริง จัดเลือกตั้งซะฟะ


เอาอีกแล้ว สวนดุสัตว์โพลล์ บอกประชาชน 41% สนับสนุน ม. 44 เฮ๊ย แน่จริง จัดเลือกตั้งซะฟะ







Monday, April 6, 2015

อีกครั้ง มาตรา 44 ตามคำสั่งโจร คสช. 3/2558 เลวร้ายแค่ไหน


อีกครั้ง มาตรา 44 ตามคำสั่งโจร คสช. 3/2558 เลวร้ายแค่ไหน


คำสั่ง คสช.3/2558 ให้นายทหารชั้นสัญญาบัตร เป็น “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย" สรุปภาพรวมเบื้องต้นดังนี้

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการฯ ตาม ม. ๑๐๗ ถึงม. ๑๑๒ ตาม ป.อาญา

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา ๑๑๓ ถึงมาตรา ๑๑๘ แห่งประมวลกฎหมายอาญา

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดอันเป็นการฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่ง คสช. หรือคำสั่งหัวหน้า คสช.

-มีอำนาจออกคำสั่งเรียกให้บุคคลมารายงาน ตัวจับกุมตัวบุคคลที่กระทำความผิดซึ่งหน้า และควบคุมตัวผู้ถูกจับนำส่งตำรวจ

-มีอำนาจช่วยเหลือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมในการสอบสวนกับตำรวจ ในการเข้าร่วมให้ถือว่าทหารเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

- มีอำนาจเข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้น รวมตลอดทั้งค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ รวมทั้งยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่ค้นพบ

-กรณีมีความจำเป็นเพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นภัยต่อความมั่นคง ทหารมีอำนาจออกคำสั่งห้ามการเสนอข่าว จำหน่าย หรือแพร่หลายหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์

- ทหารมีอำนาจเรียกตัวบุคคลมาสอบถามข้อมูล โดยสามารถควบคุมตัวได้ 7 วัน และห้ามควบคุมตัวที่สถานีตำรวจทัณฑสถาน หรือเรือนจำ

- ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของทหารต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

-ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางทหารในการปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ
ไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

-การชุมนุมทางการเมือง จำนวนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

-ผู้ใดมีความผิดจากการชุมนุมทางการเมือง แต่สมัครใจเข้ารับการอบรมจากทหาร ไม่เกิน 7 วัน และทหารเห็นสมควรปล่อยตัว ให้ถือว่าคดีเลิก

- การกระทำตามคำสั่งนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

- ทหารที่กระทำการไปตามอำนาจหน้าที่ได้รับความคุ้มครองตาม ม.๑๗ แห่งพรก.ฉุกเฉิน
______________________________

แผนกอบโกยผลประโยชน์ที่จะเข้ามาในจังหวัดน่าน กลุ่มทุนอำมาตย์ครองธุรกิจประเทศไทยถึงกับไปสร้าง โรงงานอาหารฮัลลาลในพื้นที่จังหวัดน่านแล้ว มีการจัดเตรียมการนำคนของกลุ่ม กปปส.มุสลิมเข้าไปตั้งชุมชนเพื่อสร้างเมืองอย่างเร่งด่วนก่อนเปิดรับการโครงการไหลมาเทมาของธุรกิจอำมาตย์ ก่อนเปิดเป็นเขตเศรษฐกิจที่จะมากับถนนนสายหลักที่ตัดผ่านมาจากประเทศจีนเข้าไทย  ส่วนประชาชนชาวน่านเจ้าในพื้นที่ อำมาตย์ไม่เคยถามไถ่ กูจะเอาตามใจพวกกูทุกเรื่อง!!ชาวน่านจึงต้องรณรงค์ต่อต้านทุกรูปแบบ  ถ้าจะกดหัวเรา พวกเราก็จะเงยหน้าขึ้นสู้กับปัญหาที่กำลังสะสมไว้ให้ลูกหลายในอนาคตข้างหน้า
______________________________

ศึกชิงเก้าอี้ผบ.ทบ.มาผูกติดขาพลเอกประยุทธ์ไว้ก่อน เพื่อชิงการนำตั้งพลเอกปรีชา จันทร์โอชาขึ้นเป็น ผบ.ทบ.หลังพลเอกอุดมเดช สีตะบุตรอำลาเก้าอี้ หรือเกิดการเมืองสะดุดบิ๊กตู่จะใช้อำนาจเต็มของรัฐธรรมนูญชั่วคราว ม.44 ตั้งน้องชายตัวเองขึ้นเป็นผบ.ทบ.ได้ทันที ...ความในแตกเสียแล้วแหล่งข่าวร้อนผ่านมาทางคนใกล้ชิดของบิ๊กตู่เองกล่าวว่าแบบผยองการยึดอำนาจ ผบ.ทบ.มาอยู่ที่หัวหน้า คสช.ผ่านการใช้มาตรา 44 นั้นทำให้พลเอกประยุทธ์มีอำนาจเบ็ดเสร็จเต็มองค์รัฐาธิปัตย์ครอบคลุมการสั่งการทั่วราชอาณาจักรไทย มีเพียงเหตุผลส่วนตัวของสองพี่น้องสกุลจันทร์โอชาเท่านั้นที่ใช้เป็นเหตุจูงใจให้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาฉกฉวยโอกาสนำมาตรา 44มาใช้ประโยชน์ในครอบครัว เพียงเพื่อการแต่งตั้งน้องชายขึ้นเป็น ผบ.ทบ.คนใหม่ในอีก 4-5 เดือน ข้างหน้า(เดือนกันยายนมีพล1 ตุลาคม 58)ให้ได้ นี่เป็นไปตามสันดานของพลเอกประยุทธ์ที่ไม่เคยนึกถึงชาติบ้านเมืองและประชาชนเลย ( ม. 44 ในรัฐธรรมนูญชั่วคราวมีเบื้องหลังได้ ดร.วิษณุ รองนายกฯชงให้ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญชั่วคราว เพื่อสมประโยชน์กันทางอำนาจกับพลเอกประยุทธ์นั่นเอง)
______________________________

เปิดสถานที่ให้แดงชุมนุมหลายครั้ง คงจะถูกแก้เผ็ด                            
กระทรวงยุติธรรมนำเจ้าหน้าที่ลุยตรวจสอบโบนันซ่าเขาใหญ่ ของ ไพวงษ์ เตชะณรงค์  
http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRReU9EQTRNRGt4TVE9PQ==&sectionid=
________________________________



อีกครั้ง มาตรา 44 ตามคำสั่งโจร คสช. 3/2558 เลวร้ายแค่ไหน


อีกครั้ง มาตรา 44 ตามคำสั่งโจร คสช. 3/2558 เลวร้ายแค่ไหน


คำสั่ง คสช.3/2558 ให้นายทหารชั้นสัญญาบัตร เป็น “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย" สรุปภาพรวมเบื้องต้นดังนี้

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการฯ ตาม ม. ๑๐๗ ถึงม. ๑๑๒ ตาม ป.อาญา

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา ๑๑๓ ถึงมาตรา ๑๑๘ แห่งประมวลกฎหมายอาญา

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน

-มีอำนาจดำเนินการป้องกันปราบปราบความผิดอันเป็นการฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่ง คสช. หรือคำสั่งหัวหน้า คสช.

-มีอำนาจออกคำสั่งเรียกให้บุคคลมารายงาน ตัวจับกุมตัวบุคคลที่กระทำความผิดซึ่งหน้า และควบคุมตัวผู้ถูกจับนำส่งตำรวจ

-มีอำนาจช่วยเหลือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมในการสอบสวนกับตำรวจ ในการเข้าร่วมให้ถือว่าทหารเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

- มีอำนาจเข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้น รวมตลอดทั้งค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ รวมทั้งยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่ค้นพบ

-กรณีมีความจำเป็นเพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นภัยต่อความมั่นคง ทหารมีอำนาจออกคำสั่งห้ามการเสนอข่าว จำหน่าย หรือแพร่หลายหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์

- ทหารมีอำนาจเรียกตัวบุคคลมาสอบถามข้อมูล โดยสามารถควบคุมตัวได้ 7 วัน และห้ามควบคุมตัวที่สถานีตำรวจทัณฑสถาน หรือเรือนจำ

- ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของทหารต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

-ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางทหารในการปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ
ไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

-การชุมนุมทางการเมือง จำนวนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

-ผู้ใดมีความผิดจากการชุมนุมทางการเมือง แต่สมัครใจเข้ารับการอบรมจากทหาร ไม่เกิน 7 วัน และทหารเห็นสมควรปล่อยตัว ให้ถือว่าคดีเลิก

- การกระทำตามคำสั่งนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

- ทหารที่กระทำการไปตามอำนาจหน้าที่ได้รับความคุ้มครองตาม ม.๑๗ แห่งพรก.ฉุกเฉิน
______________________________

แผนกอบโกยผลประโยชน์ที่จะเข้ามาในจังหวัดน่าน กลุ่มทุนอำมาตย์ครองธุรกิจประเทศไทยถึงกับไปสร้าง โรงงานอาหารฮัลลาลในพื้นที่จังหวัดน่านแล้ว มีการจัดเตรียมการนำคนของกลุ่ม กปปส.มุสลิมเข้าไปตั้งชุมชนเพื่อสร้างเมืองอย่างเร่งด่วนก่อนเปิดรับการโครงการไหลมาเทมาของธุรกิจอำมาตย์ ก่อนเปิดเป็นเขตเศรษฐกิจที่จะมากับถนนนสายหลักที่ตัดผ่านมาจากประเทศจีนเข้าไทย  ส่วนประชาชนชาวน่านเจ้าในพื้นที่ อำมาตย์ไม่เคยถามไถ่ กูจะเอาตามใจพวกกูทุกเรื่อง!!ชาวน่านจึงต้องรณรงค์ต่อต้านทุกรูปแบบ  ถ้าจะกดหัวเรา พวกเราก็จะเงยหน้าขึ้นสู้กับปัญหาที่กำลังสะสมไว้ให้ลูกหลายในอนาคตข้างหน้า
______________________________

ศึกชิงเก้าอี้ผบ.ทบ.มาผูกติดขาพลเอกประยุทธ์ไว้ก่อน เพื่อชิงการนำตั้งพลเอกปรีชา จันทร์โอชาขึ้นเป็น ผบ.ทบ.หลังพลเอกอุดมเดช สีตะบุตรอำลาเก้าอี้ หรือเกิดการเมืองสะดุดบิ๊กตู่จะใช้อำนาจเต็มของรัฐธรรมนูญชั่วคราว ม.44 ตั้งน้องชายตัวเองขึ้นเป็นผบ.ทบ.ได้ทันที ...ความในแตกเสียแล้วแหล่งข่าวร้อนผ่านมาทางคนใกล้ชิดของบิ๊กตู่เองกล่าวว่าแบบผยองการยึดอำนาจ ผบ.ทบ.มาอยู่ที่หัวหน้า คสช.ผ่านการใช้มาตรา 44 นั้นทำให้พลเอกประยุทธ์มีอำนาจเบ็ดเสร็จเต็มองค์รัฐาธิปัตย์ครอบคลุมการสั่งการทั่วราชอาณาจักรไทย มีเพียงเหตุผลส่วนตัวของสองพี่น้องสกุลจันทร์โอชาเท่านั้นที่ใช้เป็นเหตุจูงใจให้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาฉกฉวยโอกาสนำมาตรา 44มาใช้ประโยชน์ในครอบครัว เพียงเพื่อการแต่งตั้งน้องชายขึ้นเป็น ผบ.ทบ.คนใหม่ในอีก 4-5 เดือน ข้างหน้า(เดือนกันยายนมีพล1 ตุลาคม 58)ให้ได้ นี่เป็นไปตามสันดานของพลเอกประยุทธ์ที่ไม่เคยนึกถึงชาติบ้านเมืองและประชาชนเลย ( ม. 44 ในรัฐธรรมนูญชั่วคราวมีเบื้องหลังได้ ดร.วิษณุ รองนายกฯชงให้ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญชั่วคราว เพื่อสมประโยชน์กันทางอำนาจกับพลเอกประยุทธ์นั่นเอง)
______________________________

เปิดสถานที่ให้แดงชุมนุมหลายครั้ง คงจะถูกแก้เผ็ด                            
กระทรวงยุติธรรมนำเจ้าหน้าที่ลุยตรวจสอบโบนันซ่าเขาใหญ่ ของ ไพวงษ์ เตชะณรงค์  
http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRReU9EQTRNRGt4TVE9PQ==&sectionid=
________________________________



Sunday, April 5, 2015

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

รับฟังเสียงจากรายงานของ VOA (Voice of America)
ไม่กี่ชั่วโมงหลังจากรัฐบาลไทยยกเลิกกฏอัยการศึก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44 แทน ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ Zeid Ra’ad Al Hussein ก็ได้มีแถลงการณ์ตำหนิรัฐบาลไทย โดยระบุว่าการยกเลิกกฏอัยการศึกครั้งนี้ยังไม่ใช่เรื่องน่ายินดี เพราะมาตรา 44 ที่นำใช้แทนนั้นมีความเข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก และมีความคลุมเครือ อีกทั้งยังดูเหมือนเป็นการรวมศูนย์อำนาจไว้ทั้งหม

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

สหประชาชาติชี้มาตรา 44 ที่รัฐบาลไทยนำมาใช้เข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก

รับฟังเสียงจากรายงานของ VOA (Voice of America)
ไม่กี่ชั่วโมงหลังจากรัฐบาลไทยยกเลิกกฏอัยการศึก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44 แทน ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ Zeid Ra’ad Al Hussein ก็ได้มีแถลงการณ์ตำหนิรัฐบาลไทย โดยระบุว่าการยกเลิกกฏอัยการศึกครั้งนี้ยังไม่ใช่เรื่องน่ายินดี เพราะมาตรา 44 ที่นำใช้แทนนั้นมีความเข้มงวดกว่ากฏอัยการศึก และมีความคลุมเครือ อีกทั้งยังดูเหมือนเป็นการรวมศูนย์อำนาจไว้ทั้งหม

Friday, April 3, 2015

ม.44 เหมือน"ปิดประเทศ"สถาปนารัฐเผด็จการ (เครดิต จอม เพชรประดับ + นรินท์พงษ์ จินาภักดิ์)




Published on Apr 3, 2015

นายนรินท์พงษ์ จินาภักดิ์ นายกสมาคมทนายความแห่งประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ Thaivoicmedia กรณีที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ยกเลิกการบังคับใช้กฎอัยการศึกและประกาศใช­้ ม.44 ตามรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ว่า ม.44 ทำให้่เจ้าหน้าที่รัฐมีอำนาจกว้างขวางมากย­ิ่งขึ้นในการดำเนินการกับประชาชนที่สงสัยว­่ามีพฤติการณ์ที่เป็นภัยมั่นคงต่อรัฐ ทั้งการจับกุม ตรวจค้น แต่จะเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือ สร้างความหวาดกลัวให้กับประชาชนมากน้อยแค่­ไหนนัี้นขึ้นอยู่กับ การปฎิบัติของเจ้าหน้าที่ทหารเป็นหลัก และการยังคงให้ พลเรือนขึ้นศาลทหาร อยู่ต่อไป แต่เพิ่มกระบวนการให้ พลเรือนสามารถที่จะอุทรณ์ ฏีกาได้ ก็ทำให้ผู้ต้องหาได้รับความเป็นธรรมระดับห­นึ่งได้ แต่ห่วงว่าทหาร หรือบุคคลที่มาเป็นตุลาการในศาลทหารซึ่งไม­่ได้มาจากกระบวนการทางศาล ไม่จบเนติบัณฑิตมาก่อน จะเข้าใจกระบวนการสร้างความยุติธรรมได้มาก­น้อยแค่ไหน ดังนั้น การใช้ม.44 ที่นายกรัฐมนตรีสามารถใช้อำนาจได้เต็มทั้ง­สามอำนาจนั้น สร้างความเป็นกังวลให้กับนานาประเทศที่เห็­นว่าจะทำให้ประเทศไทยกลายเป็นเผด็จการที่ส­มบูรณ์มากขึ้น แต่ทั้งนี้ก็ต้องดูการปฎิบัติว่าจะเป็นอย่­างนั้นจริงหรือไม่




ม.44 เหมือน"ปิดประเทศ"สถาปนารัฐเผด็จการ (เครดิต จอม เพชรประดับ + นรินท์พงษ์ จินาภักดิ์)