PPD's Official Website

Showing posts with label สิทธิมนุษยชน. Show all posts
Showing posts with label สิทธิมนุษยชน. Show all posts

Thursday, May 28, 2015

สิ่งน่าสนใจ ว่าด้วย การถอนพาสปอร์ต ดร.ทักษิณ ชินวัตร

Sunday, May 24, 2015

ช่วยกันเผยแพร่ให้ได้มากที่สุด!! คลิปข่าวชาวต่างชาติ ที่คนไทยคงไม่มีวันได้ดู !

ช่วยกันเผยแพร่ให้ได้มากที่สุด!!

คลิปข่าวชาวต่างชาติ ที่คนไทยคงไม่มีวันได้ดู !!

จาก"เหตุการณ์ควบคุมนักศึกษา" ที่หอศิลป์ ปทุมวัน กรุงเทพ
Bangkok Students protest against military rule


-------------
http://www.youtube.com/watch?v=s87DYeigWu4&feature=youtu.be          

http://www.youtube.com/watch?v=-RQeOSAKKhM    

http://www.youtube.com/watch?v=NiS6cHYl0vA

"อย่าปล่อยให้นักศึกษา สู้อย่างโดดเดี่ยว"
"อย่าปล่อยให้เผด็จการทำร้ายนักศึกษา โดยที่เราได้แต่นั่งมอง"


ช่วยกันแชร์ ไปฟ้องโลก!!

Thursday, May 21, 2015

อีกมุมหนึ่ง เกี่ยวกับ ที่มาของปัญหา โรฮิงญา

นักวิชาการชี้อังกฤษ-พม่าต้นตอร่วมกันของปัญหาโรฮิงญา ในการสนทนาทางออนไลน์กับบีบีซีไทย หัวข้อ “โรฮิงญา” นายดุลยภาค ปรีช...

Posted by บีบีซีไทย - BBC Thai on Wednesday, May 20, 2015

Monday, May 11, 2015

โรฮิงญา: กระจกสะท้อน ภาพนรก ที่ทหารไทย ต้องอธิบายต่อชาวโลก

ยิ่งสาวยิ่งลึก ร้าย เลว โหด


            *** "พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง" ผบ.ตร.สลัดปากกาเซ็นคำสั่งย้าย "ตำรวจ" ซึ่งสงสัยพัวพันหรือมีส่วนรู้เห็นกับการขน "โรฮิงญา" ผ่านประเทศไทยไปประเทศที่สามแล้วกว่า 50 ราย มีทั้งตำรวจภูธร ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ตำรวจน้ำ ตำรวจปราบปรามการค้ามนุษย์ และตำรวจตระเวนชายแดน แต่เท่าที่เห็นรายชื่อล้วนแล้วแต่เป็น "ปลาซิวปลาสร้อย" *** ไหนๆ เหล็กกำลังร้อน "บิ๊กอ๊อด" ควรถือโอกาสกวาดบ้านให้เป็นระเบียบเรียบร้อยเสียที พื้นที่ภาคใต้ฝั่งอันดามันมีปัญหาเรื่องค้ามนุษย์มานาน ก่อนหน้า "โรฮิงญา" ก็มีเรื่องค้าแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงการค้า "ผู้หญิง" ผู้กระทำผิดเครือข่ายเดิมๆ เพียงแต่เปลี่ยน "สินค้า" เครือข่ายอาชญากรเหล่านี้ดำรงอยู่ได้อย่างไร หากเจ้าหน้าที่รัฐ "ไม่เอาหูไปนาเอาตาไปไร่"
           *** ขอเตือนไว้อีกเรื่องเผื่อ "บิ๊กอ๊อด" มีภารกิจมากจนอาจหลงลืมกรณี "ส่วยน้ำมันเถื่อน" พื้นที่ภาคใต้ ก่อนหน้านี้พบ "บัญชีส่วยยาวเป็นหางว่าว" ถึงวันนี้เอาผิดใครได้หรือยัง ลองถามความคืบหน้า "พล.ต.ท.ฐิติราช หนองหารพิทักษ์" ผบช.ก. สืบสาวราวเรื่องไปถึงไหนแล้ว อย่าให้เป็น "ไฟไหม้ฟาง" เวลาเปลี่ยนคนเปลี่ยนก็จบกัน ***  กรณี "โรฮิงญา" ในส่วนของตำรวจเคลื่อนไหวโยกย้ายกันไปบ้างแล้ว แต่ในฝ่ายทหารยังไม่เห็นว่ามีการดำเนินการไปอย่างไรบ้างแล้ว น่านน้ำอันดามันภาคใต้ฝั่งตะวันตกมี "กองเรือภาคที่ 3" รับผิดชอบพื้นที่ ไม่รู้ด้วยเหตุผลกลใด "เครือข่ายค้ามนุษย์" จึงใช้พื้นที่เป็นเส้นทางขน "โรฮิงญา" ได้
           *** ทหารบกก็เช่นกัน พื้นที่ปลายทางที่เครือข่ายค้ามนุษย์ ตั้งค่ายพักพิงก่อนข้ามไปประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งอยู่ห่างจาก "ค่ายเสนาณรงค์" ซึ่งเป็นค่ายทหารแห่งใหญ่ในภาคใต้ตอนล่างไม่กี่สิบกิโลเมตร "ท่านผู้หลักผู้ใหญ่" ในค่ายแห่งนี้ "ขึ้นฮ.-ลง ฮ." บินผ่านไม่เห็นกันบ้างเลยหรืออย่างไร *** ส่วนที่ระนองต้นทาง "โรฮิงญา" ขึ้นฝั่งมี "กองกำลังเทพสตรี" ตั้งอยู่ ค่อนข้างแข็งขัน จนระยะหลังๆ "เครือข่ายค้ามนุษย์" ต้องใช้วิธีขน "โรฮิงญา" เดินทางทางเรือตรงไปยัง "สตูล" แทน แต่ก็มีบ้างที่สามารถขึ้นฝั่งที่ "ระนอง" ได้ "พล.อ.อุดมเดช สีตบุตร" ผบ.ทบ. น่าลองตรวจสอบเป็นเพราะเหตุใด หากพบนิ้วไหนร้ายต้องรีบตัดทิ้ง *** ฝ่ายปกครองก็เช่นกัน "ท่านผู้ว่าฯ-ท่านนายอำเภอ" ไม่ระแคะระคายอะไรกันเลยหรือ ผู้ที่ถูกออกหมายจับมีทั้ง "ผู้นำ-นักการเมืองท้องถิ่น" มีหน้าที่การงานอยู่ในสายงานที่พวกท่านต้องควบคุมดูแลไม่ใช่หรือ "พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา" รมว.มหาดไทย ทำอย่างไรดี

โรฮิงยา คือเผ่าพันธุ์ ที่ถูกใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง. เป็นชะตากรรมของเขา ที่เกิดเป็นโรฮิงยา และเป็นชะตากรรมของคนไทยที่รู้ไม่ทันกโลบายทางการเมือง ระดับภูมิภาค คนไทยต้องป้องกันตัวเอง การปฏิเสธต้องมาจากประชาชนโดยรัฐทำตามเสียงสนับสนุนของประชาชน เมื่อมีความแตกแยกกันภายใน ปัญหานี้จึงยากแก้ไข คนโรฮิงยาไม่ใช้ต้นเหตุ แต่ขบวนการสร้างภาพบิดเบือนสภาพที่เกิดขึ้นจริงเพื่อผลประโยชน์แอบแฝงในรูปแบบของการกลืนแผ่นดิน คือการใช้คนใหม่ดันคนเก่าเพื่อครองพื้นที่ ตัวอย่างข่าวของความน่าสะพรึงกลัวที่คนโรฮิงยาได้รับ  ภาพชายคนหนึ่งถูกรุมตี บรรยายว่าเหตุเกิดในพม่า แต่เหตุเกิดขึ้นจริง ที่อัสสัม อินเดีย.  เพจนี้ ขอเรี่ยไรเงินจากชาวมุสลิมทั้งหลาย ข่าวที่มาของภาพคือ http://maoistresistance.blogspot.com/2007/11/assam-tribal-woman-stripped-cm-orders.html



Thursday, May 7, 2015

รายงานพิเศษ เปิดเส้นทางค้ามนุษย์ชาวโรฮิงญา TV24 07-05-58 News Room 18.30 -

TV24 07-05-58 News Room 18.30 - รายงานพิเศษ เปิดเส้นทางค้ามนุษย์ชาวโรฮิงญา

3 views

Tuesday, May 5, 2015

ใครอยู่เบื้องหลัง การค้ามนุษย์และค้าทาส โรฮิงญา ในภาคใต้ของไทย??

มีข้อมูลพี่น้องส่งมา ...​ลองพิจารณาและสืบค้นต่อนะครับ

ปชป. เครื่องมือสร้างระบอบดักดานของอำนาจชี้นำประเทศ  
ด่วนมากครับ...สมยศ พุ่มพันธ์ม่วงผบ.ตร.ยอมรับค่ายกักกันชาวโรฮิงยา มีเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งทหารบก-เรือ- นักการเมืองทรงอิทธิพลท้องถิ่น( ชื่อ ย่อ ถ.)หนุนหลัง ตำรวจเตรียมออกหมายจับอีก 3 ปลาซิวปลาสร้อยสมุนปลายแถว สาวไม่ถึง ตัว ส.ส.คนดังแห่งพรรคประชาธิปัตย์ ชี้แม้ตำรวจจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับทางทหารตลอด แต่ตำรวจชั่ว ทหารเลวรับทรัพย์ร่วมมือกับนักการเมืองชั่วทำให้ค่ายกักแรงงานทาสอยู่ได้ ชี้เป็นแชมป์ส่งแรงงานโรฮิงญาส่งไปทำงานทั่วในภาคใต้ มีฐานธุรกิจนายทุนเครือข่ายของ ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ทุกจังหวัดรอรับ ไม่เฉพาะที่ ศรีสุบรรณฟาร์ม เครือข่ายห้าเสือสุราษฎร์ หรือธรกิจทำเฟอร์นิเจอร์จากไม้ยางพาราพวกตระกูลรังสิพราห์มกุล( ผัว ม.ร.ว.คลั่งเกลียดเสื้อแดง ปรียนันทนา รังสิต) แต่ธุรกิจท่องเที่ยว ประมงล้วนเป็นคนของประชาธิปัตย์
... พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เปิดเผยก่อนลงพื้นที่ไปตรวจสอบ กรณีเจ้าหน้าที่รัฐ นักการเมืองใหญ่สงขลาเกี่ยวข้องเปิดสถานกักกันชาวโฮิงญาบนเขาในจ.สงขลา กว่า 20 ว่า เนื่องจากกรณีดังกล่าวส่งผลต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทยก็จริง จากการตรวจสอบเล่นละครกันเป็นขบวนการ ถือเป็นขบวนการค้ามนุษย์และอาชญากรรมข้ามชาติที่ไม่สามารถแตะต้องได้ เพราะมีลูกๆป๋าเปรมเป็นนักการเมืองตัวใหญ่ๆบิ๊กๆหนุนหลังทั้งนั้น.. วงการพนันขันต่อของภาคใต้รับคำท้า ถ้าประวิตรสั่งสมยศจับนายหัวเจ้าของค่ายกักกันโรฮิงญาตัวจริงได้ละก็ ชาวใต้จะยกให้ คสช. เป็นพ่อของคนใต้แทนป๋าเปรมทันทีนิ

อีกด้านหนึ่งของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จากรายการ คม ชัด ลึก

"เราเป็นคน ไม่ใชสัตว์" เสียงจาก "โรฮิงญา" ร้องยูเอ็นตั้งค่ายอพยพในไทย: จอม เพชรประดับ

"เราเป็นคน ไม่ใชสัตว์" เสียงจาก "โรฮิงญา" ร้องยูเอ็นตั้งค่ายอพยพในไทย: จอม เพชรประดับ https://youtu.be/cg7yij0Zypk
Published on May 5, 2015
นายอับดุล กาลัม ชาวโรฮิงญา ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ประสานงานช่วยเหลือผู้­ลี้ภัยชาวโรฮิงญาในประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ Thaivoicemedia กล่าวกับ ขบวนการค้ามนุษย์ชาวโรฮิงญาในประเทศไทยว่า ประเทศไทยเป็นแหล่งซื้อขายชาวโรฮิงญาที่ให­ญ่ที่สุดในเอเชีนเวลานี้ เพราะมีชาวโรฮิญาที่อพยพหลบหนีการกดขี่ ทารุณ จากรัฐบาลพม่า และจากคนต่างศาสนาในรัฐยะไข่ เมืองอารากัน ในพม่ามา เพื่อที่จะมาหางานทำ มีอิสรภาพและสร้างชีวิตที่ดีในประเทศมาเลย­์เซีย แต่ก็ต้องมาเจอกับขบวนการค้ามนุษย์ที่โหดร­้ายทารุณอย่างมาก ที่มีประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง
นายกาลัมกล่าวว่า ขณะนี้ รัฐบาลไทย ได้รับรายชื่อ ผู้ที่เป็นนายหน้า และเกี่ยวข้องกับขบวนการค้ามนุษย์ชาวโรฮิง­ญาแล้ว ขึ้นอยู่กับว่า รัฐบาลไทยจะดำเนินการอย่างไร แต่ความจำเป็นเร่งด่วนที่ ชาวโรฮิงญาต้องการขณะนี้คือ ต้องการให้ องค์การสหประชาชาติ ได้มาตั้งค่ายอพยพผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาขึ้น­ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยอย่างเป็นระบบ เพื่อที่จะให้การดูแลด้านสุขภาพ และสร้างบรรยากาศให้พออยู่ได้ โดยไม่ต้องถูกทารุณ ทำร้าย และกลายเป็นสินค้าจากบรรดานายหน้าที่อยู่ใ­นขบวนการค้ามนุษย์ "พวกเราเป็นคนเหมือนกันกับพวกท่าน เราไม่ใช่สัตว์ หรือสิ่งของ ดังนั้นขอให้ช่วยเรา เราหนีการทารุณ ทำร้าย และการกดขี่จากรัฐบาลทหารพม่ามาแล้ว ถูกเข่นฆ่า ข่มขู่จากเพื่อนต่างศาสนิกในบ้านเมืองของเ­ราเอง เราต้องการมีชีวิตที่เป็นอิสระและมีชีวิตค­วามเป็นอยู่ที่ดีบ้างเท่านั้นเอง ขอจงโปรดเมตตา และช่วยเหลือเราด้วย ขอให้มองเราเป็นคนเหมือนกับพวกท่าน" นายอับดุล กาลัมกล่าว


"เราเป็นคน ไม่ใชสัตว์" เสียงจาก "โรฮิงญา" ร้องยูเอ็นตั้งค่ายอพยพในไทย: จอม เพชรประดับ

จาก อ.ธนบูลย์ ถึง คุณอมรา ประธาน กสม. 5 พฤษภาคม 2558

Thanaboon Chiranuvat
5 พ.ค. 2558
เรียนท่านดร.ที่นับถือ,

นี่เป็นข้อความที่ผมตอบโต้คุณอมรา พงศาพิชญ์ "ในปัญหาที่คุณอมรา พงศาพิชญ์ ยกขึ้นทักท้วง Peace TV. ในเรื่องที่มีการร้องเรียนต่อองค์การสหประชาชาติว่า มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในบทบัญญัติที่ ๑๙ ของ the Universal Declaration of Human Rights,1948
ผมในฐานะคนไทยคนหนึ่งที่พอจะรู้เรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยู่บ้าง ขอให้คำตอบแก่พี่น้องคนไทยดังนี้: องค์กร กสม. เป็นองค์กรภายใต้รัฐธรรมนูญไทย ไม่มีอะไรที่เกี่ยวพัน กับ HCHR (High Commissioner of Human Rights) ที่เป็นองค์กรภายใต้การกำกับของ ECOSOC หรือ คณะมนตรีเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งสหประชาชาติ และตามกฏบัตรสหประชาชาติ (the Charter of United Nations) แต่อย่างใด .......................................ฯ
ขณะที่ตั้งคณะกสม. คณะนี้ the Asian Human Rights Council ที่เป็นส่วนหนึ่งของ High Commissioner of Human Rightsในเอเชีย ได้เคยทักท้วงในสถานภาพทางกฏหมายของ คณะกสม. คณะนี้ว่า ประเทศไทย ได้กระทำการขัดต่อ หลักการแห่งกรุงปารีส หรือ the Paris Principles จึงไม่มีความสามารถ ที่จะใช้อำนาจสั่งการใดๆ เกี่ยวกับ เรื่องที่มากระทบต่อสิทธิมนุษยชน ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย (Non - Competence to exercising of Powers pertaining to the violation of Human Rights in Thailand).............................................................ฯ

คุณอมราฯ ก็ได้เคยรับบักทึกท้วงติงฉบับนี้ เหมือนกับ ที่ผม ได้เคยรับทาง internet จากสำนักงานใหญ่ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติ ผมและ ข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนคนที่แล้ว เป็น classmate กันจาก NYU Law School ผม และ ท่านเคยหารือกันโดยสม่ำเสมอ ในปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ผ่านทาง E - Mail.........................................................................ฯ
ฉะนั้นวันนี้คณะกสม.ของท่านเป็นคณะกรรมการ[เถื่อน] บนที่ราบแห่งนานาชาติ (international Plane) ท่านไม่ทราบเลยหรือครับ ? หรือท่านทำเป็นแกล้งโง่..............................................................ฯ
ท่านและคณะของท่านไม่เคยรู้ซึ้งในเรื่อง สิทธิมนุษยชน เอาเสียเลย!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!ฯ

วันนี้ ท่านยังจะมาเสนอหน้าเพื่อจะสร้างความยุ่งยากอย่างใดต่อไปอีกหรือ?ครับ ผมขอถามท่านหน่อย...................................................ฯ
วันนี้คนไทย ที่เขารู้จริงในเรื่องสิทธิมนุษยชน มีตัวตนอยู่ และไม่เคยแสดงความโง่ออกมาให้โลกเห็น.......................................................ฯ
คุณรู้เรื่อง "สิทธิมนุษยชน" กี่ตัวครับ ผมขอถามท่านหน่อย การละเมิดสิทธิมนุษยชน มีอยู่ดาษดื่นในประเทศไทย ท่านเคยแสดงความสามมารถอะไร? ที่จะขจัดการละเมิดนั้นให้สิ้นสุดไป หรือไม่? อย่างไร?...........................................................................................ฯ
โลกทั้งโลกเขาก็เห็นๆกันอยู่ ผมว่าผมไม่อยากจะถอนหงอกคนที่มีอาวุโสในสังคม แต่ก็อดไม่ได้ ที่ท่านยังจะแสดงความเปิ่น และความโง่ในเรื่องสิทธิมนุษยชนออกมา เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้."


Tuesday, April 7, 2015

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกคำสั่งที่3/2558 เรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44[1]แทนการใช้กฎอัยการศึก ที่ยกเลิกไปเมื่อวันที่ 1เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมานั้น

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเห็นว่า การประกาศใช้คำสั่งที่ 3/2558ดังกล่าว ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีอำนาจเหนืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการรวมถึงคำสั่งใดๆที่เกี่ยวเนื่องกับบทบัญญัติข้างต้น ขัดต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจ ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยและขัดต่อหลักการพื้นฐานทางด้านสิทธิมนุษยชนด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

1. การให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจเหนือ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ เป็นการรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ขัดต่อหลักนิติรัฐ ที่แบ่งแยกอำนาจเพื่อถ่วงดุล ป้องกันการใช้อำนาจปกครองตามอำเภอใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของประชาชน อีกทั้งการกำหนดให้การกระทำตามคำสั่งฉบับนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ย่อมเป็นการใช้อำนาจโดยความประสงค์หลีกเลี่ยงการตรวจสอบของสถาบันตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ตามคำสั่งดังกล่าว

2. การออกคำสั่งฉบับดังกล่าวเปิดโอกาสให้มีการใช้อำนาจของทหารในฐานะ “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย”กระทำการใดๆตามคำสั่งฉบับดังกล่าว เช่น ออกคำสั่งเรียก บุคคล จับกุม ค้น ห้ามการเสนอข่าว ฯ รวมถึงการทำหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานสอบสวน โดยการพิจารณาคดีของพลเรือนในข้อกล่าวหาตั้งแต่มาตรา107 ถึง 112 และมาตรา 113 ถึง 118 ประมวลกฎหมายอาญา และความผิดตามประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังคงถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้เขตอำนาจของศาลทหาร ตาม ประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557ฉบับที่38/2557และฉบับที่ 50/2557 ซึ่งขัดต่อหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานและสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมโดยตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งได้รับรองไว้ตามปฏิญญาสากลแห่งสหประชาชาติ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ในหลายๆด้านเช่น สิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เสรีภาพของสื่อมวลชน สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลทำให้สิทธิเสรีภาพของประชาชนตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดมากยิ่งขึ้นและส่งผลโดยตรงต่อการฟื้นฟูประชาธิปไตยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

ดังนั้น สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน องค์กร และบุคคลดังมีรายชื่อท้ายแถลงการณ์ฉบับนี้ ในฐานะที่เป็นนักกฎหมาย ทนายความ และบุคลากรที่ทำงานด้านกฎหมายและสิทธิมนุษยชน มีความห่วงกังวลอย่างยิ่งต่อการใช้อำนาจที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดและละเลยต่อหลักกฎหมายโดยสิ้นเชิง จึงขอให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ยกเลิกคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 3/2558 และยุติการใช้อำนาจโดยอาศัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)ฯ มาตรา 44 ในการบริหารประเทศเพื่อเป็นหลักประกันว่าสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะไม่ถูกละเมิดโดยอำเภอใจจากอำนาจที่ไร้การถ่วงดุลและอยู่เหนือการตรวจสอบ

ด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

1. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)

2. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)

3. เครือข่ายนักวิชาการเพื่อสังคมและองค์กรชุมชนภาคใต้

4. นายสมชาย หอมลออ นักกฎหมาย

5. นายไพโรจน์ พลเพชร นักกฎหมาย

6. นายแสงชัย รัตนเสรีวงษ์ ทนายความ

7. นายชัยรัตน์ แสงอรุณ ทนายความ

8. นายถาวร ปิยะวงศ์รุ่งเรือง ทนายความ

9. นายรัษฎา มนูรัษฎา ทนายความ

10. นายสุรศิษฏ์ เหลืองอรัญนภา ทนายความ

11. นายศราวุฒิ ประทุมราช นักกฎหมาย

12. นายสุรชัย ตรงงาม ทนายความ

13. นายสุมิตรชัย หัตถสาร ทนายความ

14. นางสาว ส.รัตนมณี พลกล้า ทนายความ

15. นายสมนึก ตุ้มสุภาพ ทนายความ

16. นางอำพร สังข์ทอง ทนายความ

17. นางสาวเยาวลักษ์ อนุพันธุ์ ทนายความ

18. นางสาวดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล นักกฎหมาย

19. นางสาวปรีดา ทองชุมนุม ทนายความ

20. นางสาวนภาพร สงปรางค์ ทนายความ

21. นายธีรพันธุ์ พันธุ์คีรี ทนายความ

22. นายสงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ นักกฎหมาย

23. นางสาวจันทร์จิรา จันทร์แผ้ว ทนายความ

24. นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ทนายความ

25. นายพนม บุตะเขียว ทนายความ

26. นางสาวคอรีเยาะ มานุแช ทนายความ

27. นางสาวประดิษฐา ปริยแก้วฟ้า นักกฎหมาย

28. นางสาวอัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์ นักกฎหมาย

29. นางสาวพุทธิณี โกพัฒน์ตา นักกฎหมาย

30. นางสาวผรัณดา ปานแก้ว ทนายความ

31. นายสนธยา โคตปัญญา นักกฎหมาย

32. นายอภิราชย์ ขันธ์เสน นักกฎหมาย

33. นางสาวโรสนานี หะยีสะแม นักกฎหมาย

34. นางสาววลีรัตน์ ชูวา นักกฎหมาย

35. นางสาวคุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์ ทนายความ

36. นางสาวมนทนา ดวงประภา ทนายความ

37. นางสาววราภรณ์ อุทัยรังษี ทนายความ

38. นางสาวอัญญาณี ไชยชมภู นักกฎหมาย

39. นางสาวภาวิณี ชุมศรี ทนายความ

40. นายธรธรร การมั่งมี นักกฎหมาย

41. นายอับดุลเลาะห์ หะยีอาบู ทนายความ

42. นายกฤษดา ขุนณรงค์ ทนายความ

43. นางสาวพูนสุข พูนสุขเจริญ ทนายความ

44. นางสาวสุพรรษา มะเหร็ม ทนายความ

45. นายดนัยกฤต ศรีคาน นักกฎหมาย

46. นางสาวชันษา สุพรรณเมือง นักกฎหมาย

47. นางสาวอัชฌา สงฆ์เจริญ นักกฎหมาย

48. นางสาวอุมาพร สังขะเลขา นักกฎหมาย

49. นายอัมรินทร์ สายจันทร์ นักกฎหมาย

50. นางสาวสมสกุล ศรีเมธีกุล ทนายความ

51. นายวีรวัฒน์ อบโอ ทนายความ

52. นางสาวอังคณา อนุจร ทนายความ

53. นายนรากร นาเมืองรักษ์ นักกฎหมาย

54. นางสาววราภรณ์ อินทนนท์ นักกฎหมาย

55. นางสาวจันทิมา ตรีเลิศ นักกฎหมาย

56. นายมนตรี อัจฉริยสกุลชัย นักกฎหมาย

57. นางสาวมึดา นาวานาถ นักกฎหมาย

58. นางสาวจริงจัง นะแส นักกฎหมาย

59. นางสาวฐิติวรดา ธรรมพิริยะกุล นักกฎหมาย

60. นายอิสระพงศ์ เวียงวงษ์ นักกฎหมาย

61. นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาดำ ทนายความ

62. นางสาวแววตา สาเลศ นักกฎหมาย

63. นายเจษฎา จางจันทร์ ทนายความ

64. นางสาวอชิชญา อ๊อตวงษ์ นักกฎหมาย

65. นางสาวกาญจนา อัครชาติ นักกฎหมาย

66. นายกฤษดา ชีช่วง ทนายความ

67. นายบัณฑิต หอมเกษ นักกฎหมาย

68. นางสาวเฉลิมศรี ประเสริฐศรี นักกฎหมาย

69. นายสุทธิเกียรติ คชโส นักกฎหมาย

70. นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ ทนายความ

71. นายสุทธิเกียรติ ธรรมดุล ทนายความ

72. นางสาวมนัญญา พูลศิริ นักกฎหมาย

73. นางสาวอุทุมพร ดวงแก้ว นักกฎหมาย

74. นายวัชระศักดิ์ วิจิตรจันทร์ นักกฎหมาย

75. นายจตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นักกฎหมาย

76. นางสาวขวัญหทัย ปทุมถาวรสกุล นักกฎหมาย

77. นางสาวมาซีเต๊าะ หมันหล๊ะ นักกฎหมาย

78. นางสาวศิวาพร ฝอดสูงเนิน นักกฎหมาย

79. นายกิตติชัย จงไกรจักร นักกฎหมาย

80. นายอภิสาร ยานุช ทนายความ

81. นางณัฐาศิริ เบิร์กแมน ทนายความ

82. นายสุริยงค์ คงกระพันธ์ ทนายความ

83. นายฐิติรัช สร้อยสุวรรณ นักกฎหมาย

84. นางสาวหนึ่งฤทัย คชสาร นักกฎหมาย

85. นางสาวสุธาทิพย์ อมปาน นักกฎหมาย

86. นางสาวณัฐวดี เต็งพานิชกุล นักกฎหมาย

87. นายสากีมัน เบญจเดชา ทนายความ

88. นายปภพ เสียมหาญ นักกฎหมาย

89. นางสาวปรียาภรณ์ ขันกำเหนิด นักกฎหมาย

90. นางสาวบุศรา สิงหบุตร นักกฎหมาย

91. นายวนวัฒก์ สัมมานิธิ นักกฎหมาย

92. นายอนุชา วินทะไชย นักสิทธิมนุษยชน

93. นางสาวหทัยกานต์ เรณูมาศ

94. นางสาวสิริภาภรณ์ ชื่นศรี

95. นางสาวสุภาภรณ์ มาลัยลอย

96. นางไพรัตน์ จันทร์ทอง

97. นางสาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์

98. นางสาวยลดา ธนกรสกุล

99. นายพนม ทะโน

100. นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา

101. นางสาวชนิดาภา ประกายเพชร

102. นายวศิน ไป่ทาฟอง ทนายความ

103. นายพิจิตร์ สุขะยุวนะ ทนายความ

104. นายวิสุทธิ์ ฉันทแดนสุวรรณ นักกฎหมาย

105. นายวณัฐ โคสาสุ นักกฎหมาย

106. นายนนทวุฒิ ราชกาวี นักกฎหมาย

107. นายพร้อมพงษ์ วงศ์ราษฎร์ นักกฎหมาย

108. นางสาวนวศร ลิ่มสกุล นักกฎหมาย

109. นายวิศรุต คิดดี นักกฎหมาย

110. นางสาวอมรรัตน์ คลังกำเหนิด นักกฎหมาย

111. นายอัดฮา โล๊ะมะ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

112. นายมาหะมะซูไลนี เต๊ะมาลอ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

113. นางสาวนพรักษ์ ยังเอี่ยม นักกฎหมาย

114. นางสาวนิจนิรันดร์ อวะภาค นักกฎหมาย

115. นางสาวศิริกาญจน์ เจริญศิริ นักกฎหมาย

116. นายสิทธิพร ภาศภิรมย์ ทนายความ

117. นายปรีดา นาคผิว ทนายความ

118. นายนัสเซอร์ อาจวาริน ทนายความ

119. นายวรุตม์ บุณฑริก ทนายความ

120. นางสาวจิรารัตน์ มูลศิริ ทนายความ

121. นางสาวลืนหอม สายฟ้า นักกฎหมาย

122. นายวุฒิชัย พากดวงใจ นักกฎหมาย

123. นายจิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักกฎหมาย

124. นายกิตติศักดิ์ เที่ยงตรง ทนายควม

125. ว่าที่ ร.ต. ชวนันท์ กนกวิจิตรศิลป์ ทนายความ

126. นายอานนท์ ศรีบุญโรจน์ นักวิชาการด้านนักกฎหมาย

127. นายเจษฎา ทองขาว นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

128. นางสาวเสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

129. นายทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

130. นายขรรค์เพชร ชายทวีป นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

131. รศ.ดร.ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์ นักวิชาการ

132. นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ ทนายความ

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก

แถลงการณ์ สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน เรื่องการใช้อำนาจตามมาตรา 44 แทนกฎอัยการศึก
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกคำสั่งที่3/2558 เรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44[1]แทนการใช้กฎอัยการศึก ที่ยกเลิกไปเมื่อวันที่ 1เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมานั้น

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเห็นว่า การประกาศใช้คำสั่งที่ 3/2558ดังกล่าว ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีอำนาจเหนืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการรวมถึงคำสั่งใดๆที่เกี่ยวเนื่องกับบทบัญญัติข้างต้น ขัดต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจ ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยและขัดต่อหลักการพื้นฐานทางด้านสิทธิมนุษยชนด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

1. การให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจเหนือ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ เป็นการรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ขัดต่อหลักนิติรัฐ ที่แบ่งแยกอำนาจเพื่อถ่วงดุล ป้องกันการใช้อำนาจปกครองตามอำเภอใจ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของประชาชน อีกทั้งการกำหนดให้การกระทำตามคำสั่งฉบับนี้ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ย่อมเป็นการใช้อำนาจโดยความประสงค์หลีกเลี่ยงการตรวจสอบของสถาบันตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งทำให้ประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อตรวจสอบการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ตามคำสั่งดังกล่าว

2. การออกคำสั่งฉบับดังกล่าวเปิดโอกาสให้มีการใช้อำนาจของทหารในฐานะ “เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย”กระทำการใดๆตามคำสั่งฉบับดังกล่าว เช่น ออกคำสั่งเรียก บุคคล จับกุม ค้น ห้ามการเสนอข่าว ฯ รวมถึงการทำหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานสอบสวน โดยการพิจารณาคดีของพลเรือนในข้อกล่าวหาตั้งแต่มาตรา107 ถึง 112 และมาตรา 113 ถึง 118 ประมวลกฎหมายอาญา และความผิดตามประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ยังคงถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้เขตอำนาจของศาลทหาร ตาม ประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557ฉบับที่38/2557และฉบับที่ 50/2557 ซึ่งขัดต่อหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานและสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมโดยตุลาการที่เป็นอิสระซึ่งได้รับรองไว้ตามปฏิญญาสากลแห่งสหประชาชาติ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ในหลายๆด้านเช่น สิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เสรีภาพของสื่อมวลชน สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุม และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลทำให้สิทธิเสรีภาพของประชาชนตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดมากยิ่งขึ้นและส่งผลโดยตรงต่อการฟื้นฟูประชาธิปไตยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

ดังนั้น สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน องค์กร และบุคคลดังมีรายชื่อท้ายแถลงการณ์ฉบับนี้ ในฐานะที่เป็นนักกฎหมาย ทนายความ และบุคลากรที่ทำงานด้านกฎหมายและสิทธิมนุษยชน มีความห่วงกังวลอย่างยิ่งต่อการใช้อำนาจที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดและละเลยต่อหลักกฎหมายโดยสิ้นเชิง จึงขอให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ยกเลิกคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 3/2558 และยุติการใช้อำนาจโดยอาศัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)ฯ มาตรา 44 ในการบริหารประเทศเพื่อเป็นหลักประกันว่าสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะไม่ถูกละเมิดโดยอำเภอใจจากอำนาจที่ไร้การถ่วงดุลและอยู่เหนือการตรวจสอบ

ด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

1. สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.)

2. สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.)

3. เครือข่ายนักวิชาการเพื่อสังคมและองค์กรชุมชนภาคใต้

4. นายสมชาย หอมลออ นักกฎหมาย

5. นายไพโรจน์ พลเพชร นักกฎหมาย

6. นายแสงชัย รัตนเสรีวงษ์ ทนายความ

7. นายชัยรัตน์ แสงอรุณ ทนายความ

8. นายถาวร ปิยะวงศ์รุ่งเรือง ทนายความ

9. นายรัษฎา มนูรัษฎา ทนายความ

10. นายสุรศิษฏ์ เหลืองอรัญนภา ทนายความ

11. นายศราวุฒิ ประทุมราช นักกฎหมาย

12. นายสุรชัย ตรงงาม ทนายความ

13. นายสุมิตรชัย หัตถสาร ทนายความ

14. นางสาว ส.รัตนมณี พลกล้า ทนายความ

15. นายสมนึก ตุ้มสุภาพ ทนายความ

16. นางอำพร สังข์ทอง ทนายความ

17. นางสาวเยาวลักษ์ อนุพันธุ์ ทนายความ

18. นางสาวดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล นักกฎหมาย

19. นางสาวปรีดา ทองชุมนุม ทนายความ

20. นางสาวนภาพร สงปรางค์ ทนายความ

21. นายธีรพันธุ์ พันธุ์คีรี ทนายความ

22. นายสงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ นักกฎหมาย

23. นางสาวจันทร์จิรา จันทร์แผ้ว ทนายความ

24. นายเลาฟั้ง บัณฑิตเทอดสกุล ทนายความ

25. นายพนม บุตะเขียว ทนายความ

26. นางสาวคอรีเยาะ มานุแช ทนายความ

27. นางสาวประดิษฐา ปริยแก้วฟ้า นักกฎหมาย

28. นางสาวอัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์ นักกฎหมาย

29. นางสาวพุทธิณี โกพัฒน์ตา นักกฎหมาย

30. นางสาวผรัณดา ปานแก้ว ทนายความ

31. นายสนธยา โคตปัญญา นักกฎหมาย

32. นายอภิราชย์ ขันธ์เสน นักกฎหมาย

33. นางสาวโรสนานี หะยีสะแม นักกฎหมาย

34. นางสาววลีรัตน์ ชูวา นักกฎหมาย

35. นางสาวคุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์ ทนายความ

36. นางสาวมนทนา ดวงประภา ทนายความ

37. นางสาววราภรณ์ อุทัยรังษี ทนายความ

38. นางสาวอัญญาณี ไชยชมภู นักกฎหมาย

39. นางสาวภาวิณี ชุมศรี ทนายความ

40. นายธรธรร การมั่งมี นักกฎหมาย

41. นายอับดุลเลาะห์ หะยีอาบู ทนายความ

42. นายกฤษดา ขุนณรงค์ ทนายความ

43. นางสาวพูนสุข พูนสุขเจริญ ทนายความ

44. นางสาวสุพรรษา มะเหร็ม ทนายความ

45. นายดนัยกฤต ศรีคาน นักกฎหมาย

46. นางสาวชันษา สุพรรณเมือง นักกฎหมาย

47. นางสาวอัชฌา สงฆ์เจริญ นักกฎหมาย

48. นางสาวอุมาพร สังขะเลขา นักกฎหมาย

49. นายอัมรินทร์ สายจันทร์ นักกฎหมาย

50. นางสาวสมสกุล ศรีเมธีกุล ทนายความ

51. นายวีรวัฒน์ อบโอ ทนายความ

52. นางสาวอังคณา อนุจร ทนายความ

53. นายนรากร นาเมืองรักษ์ นักกฎหมาย

54. นางสาววราภรณ์ อินทนนท์ นักกฎหมาย

55. นางสาวจันทิมา ตรีเลิศ นักกฎหมาย

56. นายมนตรี อัจฉริยสกุลชัย นักกฎหมาย

57. นางสาวมึดา นาวานาถ นักกฎหมาย

58. นางสาวจริงจัง นะแส นักกฎหมาย

59. นางสาวฐิติวรดา ธรรมพิริยะกุล นักกฎหมาย

60. นายอิสระพงศ์ เวียงวงษ์ นักกฎหมาย

61. นางสาวภัทรานิษฐ์ เยาดำ ทนายความ

62. นางสาวแววตา สาเลศ นักกฎหมาย

63. นายเจษฎา จางจันทร์ ทนายความ

64. นางสาวอชิชญา อ๊อตวงษ์ นักกฎหมาย

65. นางสาวกาญจนา อัครชาติ นักกฎหมาย

66. นายกฤษดา ชีช่วง ทนายความ

67. นายบัณฑิต หอมเกษ นักกฎหมาย

68. นางสาวเฉลิมศรี ประเสริฐศรี นักกฎหมาย

69. นายสุทธิเกียรติ คชโส นักกฎหมาย

70. นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ ทนายความ

71. นายสุทธิเกียรติ ธรรมดุล ทนายความ

72. นางสาวมนัญญา พูลศิริ นักกฎหมาย

73. นางสาวอุทุมพร ดวงแก้ว นักกฎหมาย

74. นายวัชระศักดิ์ วิจิตรจันทร์ นักกฎหมาย

75. นายจตุภัทร์ บุญภัทรรักษา นักกฎหมาย

76. นางสาวขวัญหทัย ปทุมถาวรสกุล นักกฎหมาย

77. นางสาวมาซีเต๊าะ หมันหล๊ะ นักกฎหมาย

78. นางสาวศิวาพร ฝอดสูงเนิน นักกฎหมาย

79. นายกิตติชัย จงไกรจักร นักกฎหมาย

80. นายอภิสาร ยานุช ทนายความ

81. นางณัฐาศิริ เบิร์กแมน ทนายความ

82. นายสุริยงค์ คงกระพันธ์ ทนายความ

83. นายฐิติรัช สร้อยสุวรรณ นักกฎหมาย

84. นางสาวหนึ่งฤทัย คชสาร นักกฎหมาย

85. นางสาวสุธาทิพย์ อมปาน นักกฎหมาย

86. นางสาวณัฐวดี เต็งพานิชกุล นักกฎหมาย

87. นายสากีมัน เบญจเดชา ทนายความ

88. นายปภพ เสียมหาญ นักกฎหมาย

89. นางสาวปรียาภรณ์ ขันกำเหนิด นักกฎหมาย

90. นางสาวบุศรา สิงหบุตร นักกฎหมาย

91. นายวนวัฒก์ สัมมานิธิ นักกฎหมาย

92. นายอนุชา วินทะไชย นักสิทธิมนุษยชน

93. นางสาวหทัยกานต์ เรณูมาศ

94. นางสาวสิริภาภรณ์ ชื่นศรี

95. นางสาวสุภาภรณ์ มาลัยลอย

96. นางไพรัตน์ จันทร์ทอง

97. นางสาวสิริลักษณ์ ศรีประสิทธิ์

98. นางสาวยลดา ธนกรสกุล

99. นายพนม ทะโน

100. นางศุกาญจน์ตา สุขไผ่ตา

101. นางสาวชนิดาภา ประกายเพชร

102. นายวศิน ไป่ทาฟอง ทนายความ

103. นายพิจิตร์ สุขะยุวนะ ทนายความ

104. นายวิสุทธิ์ ฉันทแดนสุวรรณ นักกฎหมาย

105. นายวณัฐ โคสาสุ นักกฎหมาย

106. นายนนทวุฒิ ราชกาวี นักกฎหมาย

107. นายพร้อมพงษ์ วงศ์ราษฎร์ นักกฎหมาย

108. นางสาวนวศร ลิ่มสกุล นักกฎหมาย

109. นายวิศรุต คิดดี นักกฎหมาย

110. นางสาวอมรรัตน์ คลังกำเหนิด นักกฎหมาย

111. นายอัดฮา โล๊ะมะ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

112. นายมาหะมะซูไลนี เต๊ะมาลอ อาสาสมัครผู้ช่วยทนายความ

113. นางสาวนพรักษ์ ยังเอี่ยม นักกฎหมาย

114. นางสาวนิจนิรันดร์ อวะภาค นักกฎหมาย

115. นางสาวศิริกาญจน์ เจริญศิริ นักกฎหมาย

116. นายสิทธิพร ภาศภิรมย์ ทนายความ

117. นายปรีดา นาคผิว ทนายความ

118. นายนัสเซอร์ อาจวาริน ทนายความ

119. นายวรุตม์ บุณฑริก ทนายความ

120. นางสาวจิรารัตน์ มูลศิริ ทนายความ

121. นางสาวลืนหอม สายฟ้า นักกฎหมาย

122. นายวุฒิชัย พากดวงใจ นักกฎหมาย

123. นายจิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล นักกฎหมาย

124. นายกิตติศักดิ์ เที่ยงตรง ทนายควม

125. ว่าที่ ร.ต. ชวนันท์ กนกวิจิตรศิลป์ ทนายความ

126. นายอานนท์ ศรีบุญโรจน์ นักวิชาการด้านนักกฎหมาย

127. นายเจษฎา ทองขาว นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

128. นางสาวเสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

129. นายทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

130. นายขรรค์เพชร ชายทวีป นักวิชาการทางด้านกฎหมาย

131. รศ.ดร.ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์ นักวิชาการ

132. นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ ทนายความ

Friday, April 3, 2015

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South



For Immediate Release

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists

Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

(New York, April 4, 2015) – Thai military authorities should immediately confirm the location of 17 student activists who were arbitrarily arrested on April 2, 2015, in Thailand’s southern Narathiwat province, Human Rights Watch said today. The activists should be freed unless they have been charged by a judge with a credible offense.

Soldiers conducted a warrantless search at about 5 a.m. on April 2 at four student dormitories in Muang district of Narathiwat province. They forced at least 17 activists from the network of ethnic Malay Muslim students at Princess of Narathiwat University to give DNA samples and then took them into military custody. Human Rights Watch has learned that the activists are being detained without charge in Pileng, Buket Tanyong, and Chulabhorn Camps in Narathiwat province. The military authorities have provided no explanation for the students’ detention or said when they would be released.

“Arbitrary arrests, secret detention, and unaccountable officials are a recipe for human rights abuses,” said Brad Adams, Asia director at Human Rights Watch. “The use of martial law to detain student activists shows how out of control the Thai military authorities have become.”

The detained activists include Aseng Kilimo, Bahakim Jehmae, Tuanahamad Majeh, Muruwan Blabueteng, Asri Saroheng, Ibroheng Abdi, Sufiyan Doramae, Ismael Jehso, Abdulloh Madeng, Sagariya Samae, Usman Oyu, Saidi Doloh, Tarsimi Madaka, Rosari Yako, Ahmad Yusoh, Albari Aba, and Ridul Sulong.

Human Rights Watch has repeatedly raised serious concerns regarding the use of arbitrary arrest and secret military detention in Thailand’s southern border provinces. Order 3/2558, issued in accordance with section 44 of the interim constitution, provides the military authorities with broad powers and legal immunity to detain people incommunicado without charge in informal places of detention, such as military camps, for seven days. It does not ensure either effective judicial oversight or prompt access to legal counsel and family members.

The risk of enforced disappearances, torture, and other ill-treatment significantly increases when detainees are held incommunicado in unofficial locations and under the control of the military, which lacks training and experience in civilian law enforcement, Human Rights Watch said. Those who committed crimes should be properly charged, but all should be treated according to international human rights standards and due process of law.

The cycle of human rights abuses and impunity contributes to an atmosphere in which Thai security personnel show little regard for human rights and separatist insurgents have committed numerous atrocities. Since January 2004, Thailand’s southern border provinces of Pattani, Yala, and Narathiwat have been the scene of a brutal internal armed conflict that has claimed more than 6,000 lives. Civilians have accounted for approximately 90 percent of those deaths. To date, not a single member of the Thai security forces has been criminally prosecuted for serious rights abuses in the south. Meanwhile, the Pejuang Kemerdekaan Patani insurgents in the loose network of BRN-Coordinate (National Revolution Front-Coordinate) regularly attack both government officials and civilians.

“Violent insurgency is no excuse for the Thai military to resort to summary and abusive measures against the Malay Muslim population,” Adams said. “It’s very worrying that soldiers continue to arrest and detain anyone they want.”

For more Human Rights Watch reporting on Thailand, please visit:
http://www.hrw.org/thailand

For more information, please contact:
In Bangkok, Sunai Phasuk (English and Thai): +32-484-535-186 (mobile); or phasuks@hrw.org. Twitter: @SunaiBKK
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499 (mobile); or siftonj@hrw.org Twitter: @johnsifton Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South



For Immediate Release

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists

Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

(New York, April 4, 2015) – Thai military authorities should immediately confirm the location of 17 student activists who were arbitrarily arrested on April 2, 2015, in Thailand’s southern Narathiwat province, Human Rights Watch said today. The activists should be freed unless they have been charged by a judge with a credible offense.

Soldiers conducted a warrantless search at about 5 a.m. on April 2 at four student dormitories in Muang district of Narathiwat province. They forced at least 17 activists from the network of ethnic Malay Muslim students at Princess of Narathiwat University to give DNA samples and then took them into military custody. Human Rights Watch has learned that the activists are being detained without charge in Pileng, Buket Tanyong, and Chulabhorn Camps in Narathiwat province. The military authorities have provided no explanation for the students’ detention or said when they would be released.

“Arbitrary arrests, secret detention, and unaccountable officials are a recipe for human rights abuses,” said Brad Adams, Asia director at Human Rights Watch. “The use of martial law to detain student activists shows how out of control the Thai military authorities have become.”

The detained activists include Aseng Kilimo, Bahakim Jehmae, Tuanahamad Majeh, Muruwan Blabueteng, Asri Saroheng, Ibroheng Abdi, Sufiyan Doramae, Ismael Jehso, Abdulloh Madeng, Sagariya Samae, Usman Oyu, Saidi Doloh, Tarsimi Madaka, Rosari Yako, Ahmad Yusoh, Albari Aba, and Ridul Sulong.

Human Rights Watch has repeatedly raised serious concerns regarding the use of arbitrary arrest and secret military detention in Thailand’s southern border provinces. Order 3/2558, issued in accordance with section 44 of the interim constitution, provides the military authorities with broad powers and legal immunity to detain people incommunicado without charge in informal places of detention, such as military camps, for seven days. It does not ensure either effective judicial oversight or prompt access to legal counsel and family members.

The risk of enforced disappearances, torture, and other ill-treatment significantly increases when detainees are held incommunicado in unofficial locations and under the control of the military, which lacks training and experience in civilian law enforcement, Human Rights Watch said. Those who committed crimes should be properly charged, but all should be treated according to international human rights standards and due process of law.

The cycle of human rights abuses and impunity contributes to an atmosphere in which Thai security personnel show little regard for human rights and separatist insurgents have committed numerous atrocities. Since January 2004, Thailand’s southern border provinces of Pattani, Yala, and Narathiwat have been the scene of a brutal internal armed conflict that has claimed more than 6,000 lives. Civilians have accounted for approximately 90 percent of those deaths. To date, not a single member of the Thai security forces has been criminally prosecuted for serious rights abuses in the south. Meanwhile, the Pejuang Kemerdekaan Patani insurgents in the loose network of BRN-Coordinate (National Revolution Front-Coordinate) regularly attack both government officials and civilians.

“Violent insurgency is no excuse for the Thai military to resort to summary and abusive measures against the Malay Muslim population,” Adams said. “It’s very worrying that soldiers continue to arrest and detain anyone they want.”

For more Human Rights Watch reporting on Thailand, please visit:
http://www.hrw.org/thailand

For more information, please contact:
In Bangkok, Sunai Phasuk (English and Thai): +32-484-535-186 (mobile); or phasuks@hrw.org. Twitter: @SunaiBKK
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499 (mobile); or siftonj@hrw.org Twitter: @johnsifton Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

Thursday, April 2, 2015

แอมเนสตี้ฯ วิพากษ์คำตัดสิน 'ไม่ปกติ' จำคุก 25 ปีคดี 112


แอมเนสตี้ฯ วิพากษ์คำตัดสิน 'ไม่ปกติ' จำคุก 25 ปีคดี 112

Thu, 2015-04-02 17:42

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล วิพากษ์การตัดสินลงโทษและสั่งจำคุกนักธุรกิจไทย 25 ปี ฐานวิจารณ์ราชวงศ์ผ่านเฟซบุ๊ก เป็นคำตัดสินที่ไม่ปรกติ ชี้ไทยจำเป็นต้องแก้ไข กม.หมิ่นที่ล้าสมัย

2 เม.ย. 2558 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 31 มี.ค. เรื่อง "บทลงโทษจำคุก 25 ปีที่ไม่ปรกติสำหรับการวิจารณ์ราชวงศ์ ท่ามกลางแผนการยกเลิกกฎอัยการศึก"
     
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลระบุว่า การตัดสินลงโทษและสั่งจำคุกนักธุรกิจไทยในเช้าวันที่ 31 มีนาคม 2558 เป็นเวลา 25 ปี ฐานการวิพากษ์วิจารณ์ราชวงศ์ผ่านข้อความในเฟซบุ๊ก เป็นคำตัดสินที่ไม่ปรกติ และแสดงให้เห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่ประเทศไทยต้องแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่ล้าสมัย
     
ศาลทหารของไทยมีความเห็นว่า นายเธียรสุธรรม (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 58 ปี มีความผิดห้ากระทงฐานโพสต์ข้อความหมิ่นพระบรมเดชานุภาพระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงพฤศจิกายน 2557
     
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลชี้ว่า ในวันเดียวกับที่มีการตัดสินคดีนี้ นายกรัฐมนตรีประยุทธ์ จันทร์โอชามีคำขอพระบรมราชโองการเพื่อประกาศยกเลิกกฎอัยการศึก รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวมอบอำนาจที่ปราศจากการตรวจสอบให้นายกรัฐมนตรีที่จะประกาศใช้กฎหมายใหม่แทนกฎอัยการศึก โดยอ้างว่าเพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ
     
นับแต่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกในไทยเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2557 ประชาชนหลายร้อยคนได้ถูกควบคุมตัวโดยพลการ และอีกหลายสิบคนต้องเข้ารับการไต่สวนในศาลทหาร เนื่องจากใช้สิทธิการชุมนุมและการแสดงออกอย่างสงบ
     
รูเพิร์ต แอ็บบอตต์ (Rupert Abbott) รองผู้อำนวยการงานวิจัยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลเปิดเผยว่า การยกเลิกกฎอัยการศึกจะไม่ช่วยให้สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในไทยดีขึ้น หากมีการนำกฎหมายที่กดขี่ปราบปรามฉบับนี้มาใช้ แทนที่จะทำเช่นนั้น รัฐบาลไทยควรฟื้นฟูหลักนิติธรรมและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งได้ถูกทำลายไปอย่างสิ้นเชิงเนื่องจากรัฐประหารเมื่อปี 2557
     
“การตัดสินลงโทษนายเธียรสุธรรมครั้งนี้ เป็นหนึ่งในบทลงโทษรุนแรงที่สุดที่ทางเราได้เห็นมา แสดงถึงสัญญาณที่น่ากังวลว่าทางการไทยมุ่งปราบปรามบุคคลที่แสดงความเห็นต่าง”
     
“เป็นเรื่องน่าเศร้าใจที่ในศตวรรษที่ 21 นี้ยังมีการคุมขังบุคคลเป็นเวลาหลายทศวรรษเพียงเพราะการวิจารณ์สถาบันกษัตริย์ การแสดงความเห็นอย่างสงบไม่ใช่อาชญากรรม นายเธียรสุธรรมต้องได้รับการปล่อยตัวทันที และต้องมีการยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกรณีสิทธิมนุษยชนของไทย”
     
ศาลทหารตัดสินลงโทษจำคุกนายเธียรสุธรรม 50 ปี แต่ลดโทษลงกึ่งหนึ่งเนื่องจากรับสารภาพผิด เขาไม่มีสิทธิอุทธรณ์คดีนี้
     
ทั้งนี้ แถลงการณ์ระบุด้วยว่า นักธุรกิจคนดังกล่าวได้ถูกทหารควบคุมตัวเป็นเวลาห้าวันโดยไม่มีการตั้งข้อหา แต่เป็นการอ้างอำนาจตามกฎอัยการศึก เขาถูกเจ้าหน้าที่ทหารควบคุมตัวโดยพลการและสอบปากคำจนกระทั่งเขายอมรับสารภาพต่อความผิดตามข้อกล่าวหา ในระหว่างนั้นเขาไม่ได้รับอนุญาตให้พบกับทนายความหรือครอบครัว
     
ในวันที่ 22 ธันวาคม 2557 นายเธียรสุธรรมถูกตั้งข้อหาอย่างเป็นทางการว่าละเมิดมาตรา 112 ของประมวลกฎหมายอาญา (กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ) โดยถูกนำตัวไปควบคุมที่เรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ และถูกคัดค้านการประกันตัว


Wednesday, April 1, 2015

สันดานชนชั้นเจ้า... จุลเจิม ยุคล A monarchist's dictatorial and terroristic view in Thailand

สันดานชนชั้นเจ้า... จุลเจิม ยุคล A monarchist's dictatorial and terroristic view in Thailand

Here is the direct translation of the above web-based opinions by Chulcherm Yugala, a monarchist: 

"I think Prime Minister Prayuth should use Article 44 to order execution and imprisonment against the 20-30 scums (including some shitty monks) so that the country would be peaceful. All depends on whether the PM is brave enough to do it."
ชัดเจนว่า หม่อมฯ ตนนี้ สมควรต้องถูกปรับทัศนคติ เมื่อประชาชนยึดอำนาจอธิปไตยคืนมา และสร้างประชาธิปไตยได้สำเร็จแล้ว 







สันดานชนชั้นเจ้า... จุลเจิม ยุคล A monarchist's dictatorial and terroristic view in Thailand

ประยุทธ์ หนึ่งในผู้ต้องหาฆาตกรสังหารหมู่ ตั้งนายทหารไปคุมคดีที่ทหารฆ่าประชาชน!!! ยอมกันต่อไปนะพี่น้องไทย

ได้อ่านข่าวที่มติชนนำเสนอ เรื่องประยุทธ์ ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมปฏิบัติการล้อมปราบประชาชน จนมีผู้เสียชีวิตนับร้อย บาดเจ็บรุนแรงถึงสองพันคน กำลังตั้งทหารเข้าไปคุมการสอบสวนคดีความต่างๆ เรียกว่ากะจะส่งคนเข้าไปรื้อสำนวนต่าง ๆ ... แล้วแบบนี้ญาติคนตายยอมได้หรือ?

คนไทยเนี่ย ให้คนบกพร่องทางวุฒิภาวะ อารมณ์ ปัญญาและสายตามาขี่หัวได้ง่าย ๆ เชียวหรือ???

ผมชักจะมองเห็นจุดจบของประยุทธ์ชัดเจนขึ้นทุกวันแล้วครับ



′ประยุทธ์′ตั้งชุดสอบสวนคดี99ศพใหม่

ข่าวจากมติชนออนไลน์ โปรดสนับสนุนสำนักข่าวที่เป็นประชาธิปไตย ในทุกท่างที่ท่านทำได้.


เมื่อวันที่ 1 เมษายน รายงานข่าวจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) แจ้งว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีคำสั่งที่ 68/2558 ลงวันที่ 2 มีนาคม 2558 เรื่องแต่งตั้งคณะสอบสวนตำรวจ นำโดย พล.ต.ท.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.) ไปร่วมสอบสวนกับนางสุวณา สุวรรณจูฑะ อธิบดีดีเอสไอ และพนักงานอัยการ ประชุมร่วมกันเพื่อวางกรอบแนวทางการสอบสวนในคดี 99 ศพที่ค้างอยู่ให้เสร็จสิ้น ขณะนี้เหลือสำนวนทั้งหมด 87 ศพ เนื่องจากดีเอสไอได้ส่งสำนวนพิจารณาเสร็จสิ้น 2 ศพ ประกอบด้วยนายพัน คำกอง อายุ 43 ปี และ ด.ช.คุณากร ศรีสุวรรณ หรือน้องอีซา อายุ 14 ปี ให้อัยการสั่งฟ้องนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์และอดีตนายกรัฐมนตรีไปแล้วเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2556 กรณีนายอภิสิทธิ์ร่วมกับพระสุเทพ อดีตรองนายกรัฐมนตรีและอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) กระทำความผิดฐานร่วมกันก่อหรือใช้ให้ผู้อื่นฆ่าและพยายามฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาเล็งเห็นผล ด้วยการออกคำสั่ง ศอฉ.ให้เจ้าหน้าที่เข้าขอคืนพื้นที่การชุมนุมบริเวณ ถนนราชดำเนิน และแยกราชประสงค์จากกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ที่ชุมนุมตั้งแต่เดือนเมษายนถึง 19 พฤษภาคม 2553 ที่ผ่านมา 


รายงานข่าวแจ้งว่า เมื่อวันที่ 31 มีนาคมที่ผ่านมาทางคณะทำงานได้ประชุมวางแนวทางการสอบสวนและทบทวนเพื่อแต่งตั้งพนักงานสอบสวนชุดใหม่ เนื่องจากช่วงที่ผ่านมาทั้งตำรวจนครบาลและดีเอสไอในชุดพนักงานสอบสวนชุดเก่านั้นได้ปรับเปลี่ยนโยกย้ายและเกษียณอายุราชการ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดใหม่ขึ้น โดยทางดีเอสไอได้แต่งตั้งให้ พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรักษ์ พ.ต.ท.พงศ์อินทร์ อินทรขาว และ พ.ต.ท.ไพศิษฐ์ วงศ์เมือง รองอธิบดีดีเอสไอเข้ามากำกับดูแลการสืบสวนสอบสวนในสำนวนคดีที่เหลือ โดยมีนางสุวณาเป็นหัวพนักงานสอบสวน และ พล.ต.ท.ศรีวราห์ และรองอธิบดีทั้ง 3 คนเป็นรองหัวหน้าพนักงานสอบสวน 

รายงานข่าวแจ้งอีกว่า ในเหตุการณ์ชุมนุมเมื่อปี 2553 ศาลมีคำสั่งไต่สวนเกี่ยวกับการตายแล้ว 28 ศพ ดีเอสไอได้สรุปสำนวนส่งให้อัยการแล้ว 10 ศพ และอยู่ระหว่างดำเนินการสอบสวนของดีเอสไอ 18 ศพ ในจำนวน 10 ศพ ประกอบด้วย 6 ศพวัดปทุมวนาราม นายพัน คำกอง ด.ช.คุณากร ศรีสุวรรณ นายชาติชาย ชาเหลา และนายฟาบิโอ โปเลงกี ช่างภาพชาวอิตาลี ยังเหลือสำนวนที่ดีเอสไอส่งให้กองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ไปชันสูตรพลิกศพให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ตามขั้นตอนกฎหมาย 56 ศพ ขณะนี้ทาง บช.น.ยังไม่ได้ส่งสำนวนกลับมาให้ทางดีเอสไอ อย่างไรก็ตามยังมีสำนวนคดีที่อยู่ระหว่างการไต่สวนการตายของศาล 5 ศพ 1 ใน 5 ศพ คือนายฮิโรยูกิ มูราโมโตะ ช่างภาพสำนักข่าวรอยเตอร์ชาวญี่ปุ่น ทั้ง 5 ศพนี้ศาลนัดฟังคำสั่งศาลในวันที่ 5 เมษายนนี้
ประยุทธ์ หนึ่งในผู้ต้องหาฆาตกรสังหารหมู่ ตั้งนายทหารไปคุมคดีที่ทหารฆ่าประชาชน!!! ยอมกันต่อไปนะพี่น้องไทย

"แล้วใครให้อำนาจที่พวกเอ็งอ้าง ไอ้ประยุทธ์ จันทร์โอชา และไอ้เปรตตาเดียว?????????"


มีมิตรท่านหนึ่งฝากรูปนี้มาให้ พร้อมกับคำบรรยายภาพ ขอให้เผยแพร่แทนด้วย เพราะท่านอยู่เมืองไทย...

ขอสนองท่านด้วยน้ำใจ และเห็นด้วยครับ เครดิตภาพ จากประชาไท ครับ


"แล้วใครให้อำนาจที่พวกเอ็งอ้าง ไอ้ประยุทธ์ จันทร์โอชา และไอ้เปรตตาเดียว?????????"











"แล้วใครให้อำนาจที่พวกเอ็งอ้าง ไอ้ประยุทธ์ จันทร์โอชา และไอ้เปรตตาเดียว?????????"

HUMAN RIGHTS WATCH ระบุ ประยุทธ์ ตั้งใจรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ไม่คิดสร้าง ปชต.




For Immediate Release

Thailand: Junta Leader Seeks Sweeping Powers
Would Invoke Constitutional Provision With Limitless Scope

(New York, April 1, 2015) – Thai Prime Minister Gen. Prayuth Chan-ocha is seeking to invoke a constitutional provision that would give him unlimited powers without safeguards against human rights violations, Human Rights Watch said today.

On March 31, 2015, Prayuth announced that he has requested King Bhumibol Adulyadej’s permission to lift martial law, which has been enforced nationwide since the May 2014 military coup. Prayuth, who chairs the ruling National Council for Peace and Order (NCPO) junta, said he would replace the Martial Law Act of 1914 with section 44 of the 2014 interim constitution, which would allow him to issue orders without administrative, legislative, or judicial oversight or accountability.

“General Prayuth’s activation of constitution section 44 will mark Thailand’s deepening descent into dictatorship,” said
Brad Adams, Asia director at Human Rights Watch. “Thailand’s friends abroad should not be fooled by this obvious sleight of hand by the junta leader to replace martial law with a constitutional provision that effectively provides unlimited and unaccountable powers.”

Under section 44, Prayuth as the NCPO chairman can issue orders and undertake acts without regard to the human rights implications, Human Rights Watch said. Section 44 states that “where the head of the NCPO is of opinion that it is necessary for the benefit of reforms in any field, or to strengthen public unity and harmony, or for the prevention, disruption or suppression of any act that undermines public peace and order or national security, the monarchy, national economics or administration of State affairs,” the head of the NCPO is empowered to “issue orders, suspend or act as deemed necessary.… Such actions are completely legal and constitutional.” No judicial or other oversight mechanism exists to examine use of these powers. Prayuth only needs to report his decisions and actions to the National Legislative Assembly and to the prime minister, a position he also occupies, after they are taken.

Prayuth has previously
stated that orders issued under section 44 would allow the military to arrest and detain civilians. Since the May 2014 coup, the junta has detained hundreds of politicians, activists, journalists, and others who they accuse of supporting the deposed Yingluck Shinawatra government, disrespecting or offending the monarchy, or being involved in anti-coup protests and activities. Military personnel have interrogated many of these detainees in secret and unauthorized military facilities without providing access to their lawyers or ensuring other safeguards against mistreatment.

The NCPO has continually refused to provide information about people in secret detention. The risk of enforced disappearance, torture, and other ill treatment significantly increases when detainees are held incommunicado in military detention. However, there have been no indications of any official inquiry by Thai authorities into reports of torture and mistreatment in military custody.

The use of military courts, which lack independence and fail to comply with international fair trial standards, to try civilians is likely to continue under section 44, Human Rights Watch said. Three days after seizing power on May 22, 2014, the NCPO issued its 37th order, which replaced civilian courts with military tribunals for some offenses – including actions violating penal code articles 107 to 112, which concern lese majeste crimes, and crimes regarding national security and sedition as stipulated in penal code articles 113 to 118. Individuals who violate the NCPO’s orders have also been subjected to trial by military court. Hundreds of people, most of them political dissidents, have been sent to trials in military courts since the coup.

The imposition of section 44 means the junta’s lifting of martial law is unlikely to lead to improvement of respect for human rights in Thailand, Human Rights Watch said. The junta will have legal justification to continue its crackdown on those exercising their fundamental rights and freedoms. Criticism of the government can still be prosecuted, peaceful political activity banned, free speech censored and subject to punishment, and opposition of military rule not permitted.

“General Prayuth’s action to tighten rather than loosen his grip on power puts the restoration of democratic civilian rule further into the future,” Adams said. “Concerted pressure from Thailand’s allies is urgently needed to reverse this dangerous course.”

For more Human Rights Watch reporting on Thailand, please visit:
http://www.hrw.org/thailand

For more information, please contact:
In Bangkok, Sunai Phasuk (English and Thai):+66-81-632-3052 (mobile); or
phasuks@hrw.orgTwitter: @SunaiBKK
In San Francisco, Brad Adams (English): +1-347-463-3531 (mobile); or
adamsb@hrw.orgTwitter: @BradAdamsHRW
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499 (mobile); or
siftonj@hrw.orgTwitter: @johnsifton







HUMAN RIGHTS WATCH ระบุ ประยุทธ์ ตั้งใจรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ไม่คิดสร้าง ปชต.

HUMAN RIGHTS WATCH ระบุ ประยุทธ์ ตั้งใจรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ไม่คิดสร้าง ปชต.




For Immediate Release

Thailand: Junta Leader Seeks Sweeping Powers
Would Invoke Constitutional Provision With Limitless Scope

(New York, April 1, 2015) – Thai Prime Minister Gen. Prayuth Chan-ocha is seeking to invoke a constitutional provision that would give him unlimited powers without safeguards against human rights violations, Human Rights Watch said today.

On March 31, 2015, Prayuth announced that he has requested King Bhumibol Adulyadej’s permission to lift martial law, which has been enforced nationwide since the May 2014 military coup. Prayuth, who chairs the ruling National Council for Peace and Order (NCPO) junta, said he would replace the Martial Law Act of 1914 with section 44 of the 2014 interim constitution, which would allow him to issue orders without administrative, legislative, or judicial oversight or accountability.

“General Prayuth’s activation of constitution section 44 will mark Thailand’s deepening descent into dictatorship,” said
Brad Adams, Asia director at Human Rights Watch. “Thailand’s friends abroad should not be fooled by this obvious sleight of hand by the junta leader to replace martial law with a constitutional provision that effectively provides unlimited and unaccountable powers.”

Under section 44, Prayuth as the NCPO chairman can issue orders and undertake acts without regard to the human rights implications, Human Rights Watch said. Section 44 states that “where the head of the NCPO is of opinion that it is necessary for the benefit of reforms in any field, or to strengthen public unity and harmony, or for the prevention, disruption or suppression of any act that undermines public peace and order or national security, the monarchy, national economics or administration of State affairs,” the head of the NCPO is empowered to “issue orders, suspend or act as deemed necessary.… Such actions are completely legal and constitutional.” No judicial or other oversight mechanism exists to examine use of these powers. Prayuth only needs to report his decisions and actions to the National Legislative Assembly and to the prime minister, a position he also occupies, after they are taken.

Prayuth has previously
stated that orders issued under section 44 would allow the military to arrest and detain civilians. Since the May 2014 coup, the junta has detained hundreds of politicians, activists, journalists, and others who they accuse of supporting the deposed Yingluck Shinawatra government, disrespecting or offending the monarchy, or being involved in anti-coup protests and activities. Military personnel have interrogated many of these detainees in secret and unauthorized military facilities without providing access to their lawyers or ensuring other safeguards against mistreatment.

The NCPO has continually refused to provide information about people in secret detention. The risk of enforced disappearance, torture, and other ill treatment significantly increases when detainees are held incommunicado in military detention. However, there have been no indications of any official inquiry by Thai authorities into reports of torture and mistreatment in military custody.

The use of military courts, which lack independence and fail to comply with international fair trial standards, to try civilians is likely to continue under section 44, Human Rights Watch said. Three days after seizing power on May 22, 2014, the NCPO issued its 37th order, which replaced civilian courts with military tribunals for some offenses – including actions violating penal code articles 107 to 112, which concern lese majeste crimes, and crimes regarding national security and sedition as stipulated in penal code articles 113 to 118. Individuals who violate the NCPO’s orders have also been subjected to trial by military court. Hundreds of people, most of them political dissidents, have been sent to trials in military courts since the coup.

The imposition of section 44 means the junta’s lifting of martial law is unlikely to lead to improvement of respect for human rights in Thailand, Human Rights Watch said. The junta will have legal justification to continue its crackdown on those exercising their fundamental rights and freedoms. Criticism of the government can still be prosecuted, peaceful political activity banned, free speech censored and subject to punishment, and opposition of military rule not permitted.

“General Prayuth’s action to tighten rather than loosen his grip on power puts the restoration of democratic civilian rule further into the future,” Adams said. “Concerted pressure from Thailand’s allies is urgently needed to reverse this dangerous course.”

For more Human Rights Watch reporting on Thailand, please visit:
http://www.hrw.org/thailand

For more information, please contact:
In Bangkok, Sunai Phasuk (English and Thai):+66-81-632-3052 (mobile); or
phasuks@hrw.orgTwitter: @SunaiBKK
In San Francisco, Brad Adams (English): +1-347-463-3531 (mobile); or
adamsb@hrw.orgTwitter: @BradAdamsHRW
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499 (mobile); or
siftonj@hrw.orgTwitter: @johnsifton







HUMAN RIGHTS WATCH ระบุ ประยุทธ์ ตั้งใจรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ไม่คิดสร้าง ปชต.