PPD's Official Website

Tuesday, August 18, 2015

รัฐซ้อนรัฐ

นายสามารถ แก้วมีชัย อดีตส.ส.เชียงราย พรรคเพื่อไทย ยื่นหนังสือต่อนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ผ่าน นางนรีวรรณ จินตกานนท์ รองประธานคณะกรรมาธิการยกร่างฯ คนที่4 

นายสามารถกล่าวว่า พรรคเพื่อไทยนำข้อวิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อแสดงจุดยื่นของพรรค ที่ต้องการให้ความไว้วางใจอำนาจประชาชน ไม่ต้องการให้เขียนไปในทิศที่ไม่ใช่อำนาจของประชาชนครอบงำ 

สิ่งที่นำเสนอวันนี้ของพรรค ก็หวังว่ากรรมาธิการยกร่างฯจะนำไปพิจารณา เพื่อส่งให้สปช.ลงมติ 7ก.ย.นี้ และนำไปสู่การทำประชามติ 

โดยที่ผ่านมากรรมาธิการยกร่างฯก็ได้ให้พรรคได้แสดงความเห็น ร่วมรับฟังหลักการใหม่ แต่พรรคก็ยังมีเรื่องกังวล จึงขอให้ใช้เวลาโค้งสุดท้ายพิจารณาข้อเสนอ

สำหรับข้อเสนอในวันนี้มี 3 เรื่อง คือ 

ที่มานายกรัฐมนตรีคนนอก ต้องการให้ยืนยันชัดเจนว่ามาจากส.ส. 

ต่อมาคือที่มาของส.ว.ทั้ง 200 คน ควรมาจากการเลือกตั้งโดยตรง โดยเชื่อว่าจะมีความหลากหลายทางสาขาอาชีพ และมีการเขียนกีดกันบุคลากรทางการเมือง ที่ถูกถอดถอนหรือตัดสิทธิ์เลือกตั้ง

พร้อมกันนี้พรรคมีความกังวล ถึงที่มาส.ว.ที่มาจากการเลือกตั้งจังหวัดละ1คน รวม 77 คน แต่ให้มีการตั้งอีก 123 คนโดยครม.ชุดปัจจุบัน 

เกรงจะการสืบทอดอำนาจ และใน ม.260 คณะกรรมการยุทธศาสตร์ 23 คน

เป็นรัฐซ้อนรัฐ 

เพราะจะใช้อำนาจเต็มแทนฝ่ายบริการและนิติบัญญัติ เป็นการครอบงำในรัฐธรรมนูญผ่านอำนาจพิเศษ 

แสดงว่าไม่ไว้ใจใช้ประชาชน เพราะอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย และตั้งข้อสงสัยว่าเป็นการร่างไม่ให้ผ่านการลงประชามติเพื่อจะได้ร่างรัฐธรรมนูญใหม่

ทั้งนี้ตั้งคำถามว่าวิกฤตในอดีตเกิดขึ้นโดยการสร้างหรือไม่ โดยในรัฐธรรมนูญปี2550ก็มีกลไกในการแก้ปัญหาตามกลไก แต่มีการสร้างเงื่อนไขเพื่อให้ใช้กลไกไม่ได้

สำหรับกรณีการวิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ประเทศฟินแลนด์ ระบุ พ.ต.ท.ทักษิณเป็นคนไทยคนหนึ่งและอยู่ในแวดวงการเมืองมานาน ก็มีสิทธิแสดงความเห็นเช่นกัน

ทั้งนี้นางนรีวรรณ กล่าวขอบคุณความเห็น ยืนยันทุกความเห็นกรรมาธิการดูครบถ้วน เราต้องการให้รัฐธรรมนูญเป็นประโยชน์แก่ประเทศและประชาชน โดยจะส่งร่างฉบับสมบูรณ์แก่สปช.ในวันที่22ส.ค.นี้ อีก15วันพิจารณา และไม่เกิน3วันลงมติ(7ก.ย.) ยังมีอีกหลายด่านก่อนจะจบ บางเรื่องที่ยังไม่ตกผลึกก็จึงขอยังไม่เปิดเผยเพราะจะไม่ได้ชี้แจงกันแบบใกล้ชิด 

ที่มา
มติชน

รัฐซ้อนรัฐ

นายสามารถ แก้วมีชัย อดีตส.ส.เชียงราย พรรคเพื่อไทย ยื่นหนังสือต่อนายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ผ่าน นางนรีวรรณ จินตกานนท์ รองประธานคณะกรรมาธิการยกร่างฯ คนที่4 

นายสามารถกล่าวว่า พรรคเพื่อไทยนำข้อวิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อแสดงจุดยื่นของพรรค ที่ต้องการให้ความไว้วางใจอำนาจประชาชน ไม่ต้องการให้เขียนไปในทิศที่ไม่ใช่อำนาจของประชาชนครอบงำ 

สิ่งที่นำเสนอวันนี้ของพรรค ก็หวังว่ากรรมาธิการยกร่างฯจะนำไปพิจารณา เพื่อส่งให้สปช.ลงมติ 7ก.ย.นี้ และนำไปสู่การทำประชามติ 

โดยที่ผ่านมากรรมาธิการยกร่างฯก็ได้ให้พรรคได้แสดงความเห็น ร่วมรับฟังหลักการใหม่ แต่พรรคก็ยังมีเรื่องกังวล จึงขอให้ใช้เวลาโค้งสุดท้ายพิจารณาข้อเสนอ

สำหรับข้อเสนอในวันนี้มี 3 เรื่อง คือ 

ที่มานายกรัฐมนตรีคนนอก ต้องการให้ยืนยันชัดเจนว่ามาจากส.ส. 

ต่อมาคือที่มาของส.ว.ทั้ง 200 คน ควรมาจากการเลือกตั้งโดยตรง โดยเชื่อว่าจะมีความหลากหลายทางสาขาอาชีพ และมีการเขียนกีดกันบุคลากรทางการเมือง ที่ถูกถอดถอนหรือตัดสิทธิ์เลือกตั้ง

พร้อมกันนี้พรรคมีความกังวล ถึงที่มาส.ว.ที่มาจากการเลือกตั้งจังหวัดละ1คน รวม 77 คน แต่ให้มีการตั้งอีก 123 คนโดยครม.ชุดปัจจุบัน 

เกรงจะการสืบทอดอำนาจ และใน ม.260 คณะกรรมการยุทธศาสตร์ 23 คน

เป็นรัฐซ้อนรัฐ 

เพราะจะใช้อำนาจเต็มแทนฝ่ายบริการและนิติบัญญัติ เป็นการครอบงำในรัฐธรรมนูญผ่านอำนาจพิเศษ 

แสดงว่าไม่ไว้ใจใช้ประชาชน เพราะอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย และตั้งข้อสงสัยว่าเป็นการร่างไม่ให้ผ่านการลงประชามติเพื่อจะได้ร่างรัฐธรรมนูญใหม่

ทั้งนี้ตั้งคำถามว่าวิกฤตในอดีตเกิดขึ้นโดยการสร้างหรือไม่ โดยในรัฐธรรมนูญปี2550ก็มีกลไกในการแก้ปัญหาตามกลไก แต่มีการสร้างเงื่อนไขเพื่อให้ใช้กลไกไม่ได้

สำหรับกรณีการวิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ประเทศฟินแลนด์ ระบุ พ.ต.ท.ทักษิณเป็นคนไทยคนหนึ่งและอยู่ในแวดวงการเมืองมานาน ก็มีสิทธิแสดงความเห็นเช่นกัน

ทั้งนี้นางนรีวรรณ กล่าวขอบคุณความเห็น ยืนยันทุกความเห็นกรรมาธิการดูครบถ้วน เราต้องการให้รัฐธรรมนูญเป็นประโยชน์แก่ประเทศและประชาชน โดยจะส่งร่างฉบับสมบูรณ์แก่สปช.ในวันที่22ส.ค.นี้ อีก15วันพิจารณา และไม่เกิน3วันลงมติ(7ก.ย.) ยังมีอีกหลายด่านก่อนจะจบ บางเรื่องที่ยังไม่ตกผลึกก็จึงขอยังไม่เปิดเผยเพราะจะไม่ได้ชี้แจงกันแบบใกล้ชิด 

ที่มา
มติชน

ทางออกประเทศไทย อ.ชูพงศ์ 18 ส.ค. 2558 ตอน ใครได้ประโยชน์จากการบอมบ์กรุงเทพ? (ตอนสอง)

ทางออกประเทศไทย อ.ชูพงศ์ 18 ส.ค. 2558 ตอน ใครได้ประโยชน์จากการบอมบ์กรุงเทพ? (ตอนสอง)

ทางออกประเทศไทย อ.ชูพงศ์ 18 ส.ค. 2558 ตอน ใครได้ประโยชน์จากการบอมบ์กรุงเทพ? (ตอนสอง)

เสรีไทย"วิเคราะห์ระเบิดราชประสงค์ สัญญาณ"ปฏิวัติซ้อน

เสรีไทย"วิเคราะห์ระเบิดราชประสงค์ สัญญาณ"ปฏิวัติซ้อน http://ifreethai.com/viewtopic.php?id=431



เสรีไทย"วิเคราะห์ระเบิดราชประสงค์ สัญญาณ"ปฏิวัติซ้อน

เสรีไทย"วิเคราะห์ระเบิดราชประสงค์ สัญญาณ"ปฏิวัติซ้อน http://ifreethai.com/viewtopic.php?id=431