PPD's Official Website
- Home
- สถานียูทูปมหาวิทยาลัยประชาชน
- เว็บมหาวิทยาลัยประชาชน
- ภาคีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชน
- “เป้าหมายการปฏิวัติแบบ มดแดงล้มช้าง”
- Ideology: อุดมการณ์มดแดง
- มดแดงล้มช้างคืออะไร?
- สถานียูทูปมหาวิทยาลัยประชาชน
- ติดตามทางเฟสบุ๊ค
- การก่อตั้ง คณะราษฎรเพื่อสาธารณรัฐสยาม
- ร่วมโหวตชื่อขององค์การปวงชนชาวไทย
- หัวใจสำคัญของแนวทางปฏิวัติมดแดงล้มช้าง
- หลักสำคัญสู่ชัยชนะเหนือเผด็จการไทย
- คำประกาศเพื่อการปฎิวัติระบอบการปกครอง 18 ก.พ. 2555
- การสมัครเข้าร่วมปฏิวัติประชาชน
- คำประกาศสถานีวิทยุมหาวิทยาลัยประชาชน
- ถ่ายทอดสด ทางยูทูปมหาวิทยาลัยประชาชน
- จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยประชาชน
- โครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยประชาชน
- เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยประชาชน
- บัญญัติสิบประการ "มดแดงล้มช้าง"
- Missions: พันธกิจ มดแดง
Monday, December 21, 2015
ภาคียางใต้ รับสภาพหลังราคาแตะ 6 กิโลร้อย สอนเรื่องดินให้ชาวสวนไว้เปลี่ยนอาชีพ
วันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เวลา 17:50:00 น.
(27 พ.ย.58) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า บรรยากาศโดยทั่วไปของการซื้อขายยางพาราในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 พบว่า ราคาซื้อขายยางก้นถ้วยในตลาดท้องถิ่น อยู่ที่ กก.ละ 16.50-20 บาท ซึ่งแต่ละพื้นที่จะมีความแตกต่างกัน ขณะที่พ่อค้ารับซื้อยางในพื้นที่ อ.นบพิตำ รายหนึ่ง กล่าวว่า ตอนนี้ตนรับซื้อยางก้นถ้วยที่ราคา กก.ละ 20 บาท ราคายางแผ่นดิบอยู่ที่ 30-33.50 บาท แล้วแต่คุณภาพของยาง ขณะที่ราคายางพารา ณ ตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ราคายางแผ่นดิบ 38.17 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.28 บาท/กก. ยางความชื้น 37.80 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.41 บาท/กก. ยางแผ่นรมควัน 40.69 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.54 บาท/กก. ราคายางแผ่นดิบท้องถิ่น 36.20 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.30 บาท/กก. ราคาน้ำยางสด 35.40 บาท/กก ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.15 บาท/กก.
นายทศพล ขวัญรอด ประธานภาคีเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางและสวนปาล์มน้ำมันแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า วันนี้ระดับผู้นำอย่างตนก็ต้องพึงสังวรสังขารตัวเอง ไม่มียางพาราที่จะขายได้ ทราบว่าวันนี้ ยาง 6 โล 100 บาทแล้ว ตนเรียกร้องช่วยเหลือมาตลอด แต่ก็ไม่มีผู้ใดเห็นความสำคัญ จึงตระหนักว่า ในเมื่อตนออกมาเรียกร้องให้ชาวสวนยาง แล้วทำไมตนไม่หันมาช่วยสอนชาวสวนยางให้รู้จักกับดินซึ่งเป็นทรัพย์ที่อยู่ ใกล้ตัวมากที่สุด เพื่อจะต้องปรับเปลี่ยนวิถีอาชีพของชาวสวนยาง....
CREDIT: และอ่านต่อที่ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1448619254
ภาคียางใต้ รับสภาพหลังราคาแตะ 6 กิโลร้อย สอนเรื่องดินให้ชาวสวนไว้เปลี่ยนอาชีพ
วันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เวลา 17:50:00 น.
(27 พ.ย.58) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า บรรยากาศโดยทั่วไปของการซื้อขายยางพาราในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 พบว่า ราคาซื้อขายยางก้นถ้วยในตลาดท้องถิ่น อยู่ที่ กก.ละ 16.50-20 บาท ซึ่งแต่ละพื้นที่จะมีความแตกต่างกัน ขณะที่พ่อค้ารับซื้อยางในพื้นที่ อ.นบพิตำ รายหนึ่ง กล่าวว่า ตอนนี้ตนรับซื้อยางก้นถ้วยที่ราคา กก.ละ 20 บาท ราคายางแผ่นดิบอยู่ที่ 30-33.50 บาท แล้วแต่คุณภาพของยาง ขณะที่ราคายางพารา ณ ตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ราคายางแผ่นดิบ 38.17 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.28 บาท/กก. ยางความชื้น 37.80 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.41 บาท/กก. ยางแผ่นรมควัน 40.69 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.54 บาท/กก. ราคายางแผ่นดิบท้องถิ่น 36.20 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.30 บาท/กก. ราคาน้ำยางสด 35.40 บาท/กก ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.15 บาท/กก.
นายทศพล ขวัญรอด ประธานภาคีเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางและสวนปาล์มน้ำมันแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า วันนี้ระดับผู้นำอย่างตนก็ต้องพึงสังวรสังขารตัวเอง ไม่มียางพาราที่จะขายได้ ทราบว่าวันนี้ ยาง 6 โล 100 บาทแล้ว ตนเรียกร้องช่วยเหลือมาตลอด แต่ก็ไม่มีผู้ใดเห็นความสำคัญ จึงตระหนักว่า ในเมื่อตนออกมาเรียกร้องให้ชาวสวนยาง แล้วทำไมตนไม่หันมาช่วยสอนชาวสวนยางให้รู้จักกับดินซึ่งเป็นทรัพย์ที่อยู่ ใกล้ตัวมากที่สุด เพื่อจะต้องปรับเปลี่ยนวิถีอาชีพของชาวสวนยาง....
CREDIT: และอ่านต่อที่ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1448619254
ภาคียางใต้ รับสภาพหลังราคาแตะ 6 กิโลร้อย สอนเรื่องดินให้ชาวสวนไว้เปลี่ยนอาชีพ
ภาคียางใต้ รับสภาพหลังราคาแตะ 6 กิโลร้อย สอนเรื่องดินให้ชาวสวนไว้เปลี่ยนอาชีพ
วันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เวลา 17:50:00 น.
| (27 พ.ย.58) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า บรรยากาศโดยทั่วไปของการซื้อขายยางพาราในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 พบว่า ราคาซื้อขายยางก้นถ้วยในตลาดท้องถิ่น อยู่ที่ กก.ละ 16.50-20 บาท ซึ่งแต่ละพื้นที่จะมีความแตกต่างกัน ขณะที่พ่อค้ารับซื้อยางในพื้นที่ อ.นบพิตำ รายหนึ่ง กล่าวว่า ตอนนี้ตนรับซื้อยางก้นถ้วยที่ราคา กก.ละ 20 บาท ราคายางแผ่นดิบอยู่ที่ 30-33.50 บาท แล้วแต่คุณภาพของยาง ขณะที่ราคายางพารา ณ ตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ราคายางแผ่นดิบ 38.17 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.28 บาท/กก. ยางความชื้น 37.80 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.41 บาท/กก. ยางแผ่นรมควัน 40.69 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.54 บาท/กก. ราคายางแผ่นดิบท้องถิ่น 36.20 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.30 บาท/กก. ราคาน้ำยางสด 35.40 บาท/กก ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.15 บาท/กก. นายทศพล ขวัญรอด ประธานภาคีเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางและสวนปาล์มน้ำมันแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า วันนี้ระดับผู้นำอย่างตนก็ต้องพึงสังวรสังขารตัวเอง ไม่มียางพาราที่จะขายได้ ทราบว่าวันนี้ ยาง 6 โล 100 บาทแล้ว ตนเรียกร้องช่วยเหลือมาตลอด แต่ก็ไม่มีผู้ใดเห็นความสำคัญ จึงตระหนักว่า ในเมื่อตนออกมาเรียกร้องให้ชาวสวนยาง แล้วทำไมตนไม่หันมาช่วยสอนชาวสวนยางให้รู้จักกับดินซึ่งเป็นทรัพย์ที่อยู่ใกล้ตัวมากที่สุด เพื่อจะต้องปรับเปลี่ยนวิถีอาชีพของชาวสวนยาง.... CREDIT: และอ่านต่อที่ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1448619254 |
ภาคียางใต้ รับสภาพหลังราคาแตะ 6 กิโลร้อย สอนเรื่องดินให้ชาวสวนไว้เปลี่ยนอาชีพ
ภาคียางใต้ รับสภาพหลังราคาแตะ 6 กิโลร้อย สอนเรื่องดินให้ชาวสวนไว้เปลี่ยนอาชีพ
วันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 เวลา 17:50:00 น.
| (27 พ.ย.58) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า บรรยากาศโดยทั่วไปของการซื้อขายยางพาราในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 พบว่า ราคาซื้อขายยางก้นถ้วยในตลาดท้องถิ่น อยู่ที่ กก.ละ 16.50-20 บาท ซึ่งแต่ละพื้นที่จะมีความแตกต่างกัน ขณะที่พ่อค้ารับซื้อยางในพื้นที่ อ.นบพิตำ รายหนึ่ง กล่าวว่า ตอนนี้ตนรับซื้อยางก้นถ้วยที่ราคา กก.ละ 20 บาท ราคายางแผ่นดิบอยู่ที่ 30-33.50 บาท แล้วแต่คุณภาพของยาง ขณะที่ราคายางพารา ณ ตลาดกลางยางพารานครศรีธรรมราช ราคายางแผ่นดิบ 38.17 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.28 บาท/กก. ยางความชื้น 37.80 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.41 บาท/กก. ยางแผ่นรมควัน 40.69 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.54 บาท/กก. ราคายางแผ่นดิบท้องถิ่น 36.20 บาท/กก. ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.30 บาท/กก. ราคาน้ำยางสด 35.40 บาท/กก ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.15 บาท/กก. นายทศพล ขวัญรอด ประธานภาคีเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางและสวนปาล์มน้ำมันแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า วันนี้ระดับผู้นำอย่างตนก็ต้องพึงสังวรสังขารตัวเอง ไม่มียางพาราที่จะขายได้ ทราบว่าวันนี้ ยาง 6 โล 100 บาทแล้ว ตนเรียกร้องช่วยเหลือมาตลอด แต่ก็ไม่มีผู้ใดเห็นความสำคัญ จึงตระหนักว่า ในเมื่อตนออกมาเรียกร้องให้ชาวสวนยาง แล้วทำไมตนไม่หันมาช่วยสอนชาวสวนยางให้รู้จักกับดินซึ่งเป็นทรัพย์ที่อยู่ใกล้ตัวมากที่สุด เพื่อจะต้องปรับเปลี่ยนวิถีอาชีพของชาวสวนยาง.... CREDIT: และอ่านต่อที่ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1448619254 |
Subscribe to:
Posts (Atom)