PPD's Official Website

Monday, January 18, 2016

ทหารมีไว้ทำไม???? คำถามที่คนไทยต้องคิดทบทวน!!!





ใบตองแห้งเอ้ยไม่ใช่ขอโทษ!!บทความที่ผู้นำเหล่าทัพทหารและผบ.สส.ออกมารุมวิจารณ์ "ทหารมีไว้ทำไม?"  โดย อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์
------------------------------------
ตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ก่อให้เกิดความเสียหายแน่ แต่ไม่ใช่กับคนที่แต่งเครื่องแบบจำนวนน้อยที่เป็นนายทหาร พวกนี้เสียหายเหมือนกัน แต่เป็นความเสียหายระดับกระจอก แม้แต่เมื่อรวมเงินกินนอกกินในที่ได้จากการซื้ออาวุธยุทธภัณฑ์แล้ว ก็ยังถือว่ากระจอก

เงินจำนวนมหาศาลจากวิสาหกิจกองทัพไม่ได้ใช้จ่ายไปกับเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง เหรียญตรา ฯลฯ ของทหารหรอกครับ แต่จ่ายไปกับอาวุธยุทธภัณฑ์และยุทธบริการที่ขายให้แก่กองทัพโดยบริษัทต่างๆ นี่เป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งของการผลิตในโลกปัจจุบัน มีการจ้างงานคนจำนวนมาก ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำกำไรต่อปีมากกว่างบประมาณประจำปีของหลายประเทศในโลกนี้ แบ่งปันกันไปในหมู่ผู้ถือหุ้น ทั้งรายใหญ่และเล็ก รวมทั้งรัฐบาลของประเทศผู้ผลิตอาวุธด้วย

หากไม่สามารถตอบให้เป็นที่น่าพอใจได้ว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จนทำให้โลกนี้ไม่มีทหารเหลืออยู่อีกเลย ส่วนนี้ของระบบการผลิตในโลกปัจจุบันจะต้องยุติลง คงใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าเศรษฐกิจใหญ่ๆ ทั้งหลายจะสามารถปรับตัว เอาทุนและแรงงานฝีมือไปใช้ในการผลิตสิ่งอื่นซึ่งมีการแข่งขันสูงกว่าได้ ฉะนั้น บางส่วนคงเจ๊ง และบางส่วนก็อาจหากำไรในการประกอบการอย่างอื่นได้ แต่จะให้ได้กำไรเหมือนการผลิตอาวุธและยุทธบริการไม่ได้หรอก

เสียหายแน่ แต่เสียด้านหนึ่งก็จะมีผลดีต่ออีกด้านหนึ่ง

ย้อนกลับไปเพียงแค่สมัยอยุธยาตอนปลาย ไปถามว่าทหารมีไว้ทำไม ชนชั้นปกครองก็จะตอบว่า เพื่อจัดหมวดหมู่กำลังแรงงานไพร่ เอาไว้ใช้ในราชการบ้าง ในกิจการส่วนตัวของเจ้าขุนมูลนายบ้าง แต่จะไม่มีใครตอบว่าเพื่อเป็นยามไว้ป้องกันขโมยเป็นอันขาด เพราะไพร่ที่ถูกจัดในหมวดทหาร มิได้มีหน้าที่พิเศษในด้านการรบ เมื่อเกิดศึกสงครามขึ้น ไพร่ที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่พลเรือนก็ถูกเกณฑ์ไปรบไม่ต่างจากไพร่ในหมวดหมู่ทหาร

พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ สังคมไทยไม่เคยมีชนชั้น หรือกลุ่มประชากร ที่มีอาชีพในการรบเหมือนสังคมยุโรปหรือญี่ปุ่น อันที่จริงพูดว่าอัศวินในสมัยกลางของยุโรป หรือซามูไร เป็นอาชีพ ก็ชวนให้ไขว้เขวได้ อย่างน้อยคนเหล่านี้ไม่เคยคิดว่าตัวต้องทำอะไรเพื่อแลกกับอาหารและเครื่องอุปโภค คนที่ต้องทำอย่างนั้นคือชาวนาซึ่งไม่มีศักดิ์ศรีเหมือนอัศวินหรือซามูไร พวกเขาสั่งสมความสามารถในการรบไว้กับตัวเพื่อรับใช้นายของเขาด้วยความภักดี และความสามารถในการรบเป็นเกียรติยศในตัวของมันเอง ไม่ใช่ไว้ทำมาหากิน

คนเหล่านี้สังกัดใน "ชนชั้น" ของนักรบ เรียกว่าชนชั้นก็เพราะสืบทอดสถานะนั้นผ่านลงมายังลูกหลานได้ และสังคมไทยกับอีกหลายสังคมในโลกนี้ ก็ไม่เคยมี "ชนชั้น" อย่างนี้ในสังคม จริงๆ คำว่า "ทหาร" ในกฎหมายตราสามดวงแปลว่าอะไรก็ไม่รู้แน่หรอกครับ ถ้ามันเคยมีความหมายอะไรเกี่ยวกับเรื่องรบราฆ่าฟันมาก่อน ความหมายนั้นก็เลือนไปในกฎหมายตราสามดวงแล้ว

หากจะนับนักรบเป็นชนชั้นในสังคมโบราณ ยังมีชนชั้นนักรบในสังคมที่ไม่ใช่ยุโรปและญี่ปุ่นอีก เช่นบางสังคมมีกองทัพทาส คือเอาทาสมาฝึกรบ จนกลายเป็นกองกำลังประจำการของพระราชาหรือของเจ้าครองแคว้น ลูกหลานของทาสเหล่านี้ก็ยังดำรงสถานะนักรบประจำการของนายสืบมา จึงถือว่าเป็นชนชั้นเหมือนกัน


ในอีกหลายสังคม โดยเฉพาะชนเผ่าเร่ร่อน การรบหรือการต่อสู้สัมพันธ์อย่างแยกไม่ออกจากการล่าสัตว์, การรักษาทุ่งหญ้าที่ใช้เลี้ยงสัตว์, หรือบางทีก็รวมการหาคู่ด้วย ดังนั้น วิถีที่เด็กผู้ชายเติบโตขึ้นมาก็คือถูกฝึกปรือให้มีความชำนาญด้านการต่อสู้ เช่น ขี่ม้าได้ตั้งแต่ยังเดินไม่คล่อง ผู้ชายของเผ่าทุกคนจึงรบเป็น แต่จะเรียกว่าพวกเขาเป็น "ทหาร" ทั้งหมดก็คงไม่ได้ เพราะเขาคือนักเลี้ยงสัตว์ที่รบเป็นเท่านั้น

ผมไล่เรียงนักรบในสังคมต่างๆ มาเพื่อจะบอกว่า "ทหาร" ตามที่เราเข้าใจปัจจุบันเป็นสิ่งใหม่มาก เป็น "อาชีพ" ที่เกิดขึ้นในเงื่อนไขของโลกสมัยใหม่ นั่นคือเมื่อรัฐไม่ได้เป็นสมบัติส่วนตัวของพระราชาแล้ว แต่เป็นสมบัติร่วมกันของพลเมืองทุกคน หน้าที่ป้องกันบ้านเมืองจึงกลายเป็นของทุกคน

ในยุโรป ความคิดแบบนี้เกิดแก่ชาวฝรั่งเศสขึ้นก่อนหลังปฏิวัติฝรั่งเศส และด้วยเหตุดังนั้นกองทัพฝรั่งเศส จึงสามารถป้องกันประเทศจากการรุมยำของมหาอำนาจยุโรปสมัยนั้น (ออสเตรีย, ปรัสเซีย, อังกฤษ) ได้สำเร็จ เพราะมหาอำนาจเหล่านั้นล้วนยังใช้กองทัพนักรบและไพร่พลสังกัดมูลนายมารบกับกองทัพฝรั่งเศส ซึ่งกลายเป็นกองทัพของอาสาสมัครพลเมือง ซึ่งไม่คิดจะรบให้ใครนอกจากให้แก่ "ชาติ" ซึ่งมีตนเองเป็นส่วนหนึ่งในชาติ ปลดปล่อยฝรั่งเศสจากศัตรู คือปลดปล่อยตนเองจากพันธนาการของระบบศักดินา

ความเป็นชาติทำให้เกิดกองทัพประจำการขึ้นอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากกองทัพประจำการที่เคยมีมาก่อนทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นกองทัพซึ่งมีไว้รักษาพระองค์, หรือราชวงศ์, หรือตระกูลเจ้าเมือง, หรือเจ้าครองแคว้น และไม่เหมือนกองทัพรับจ้างซึ่งนายทุนใหญ่ๆ มักสร้างขึ้นมาเพื่อประโยชน์ในการหากำไรทางการค้าของตนเอง เช่นกองทัพของบริษัทอินเดียตะวันออกทั้งของวิลันดาและอังกฤษ มีคนหลายชนชาติรับจ้างรบให้กับบริษัทของทั้งวิลันดาและอังกฤษ

กองทัพแห่งชาติเป็นกองกำลังประจำการ คือไม่ได้มีอยู่ตอนจะรบกับใคร แต่มีประจำการอยู่ตลอดเวลา อย่างน้อยก็ต้องรักษาแกนกลางของกองทัพเอาไว้ คือกลุ่มนายทหารซึ่งร่ำเรียนมาในการทำสงครามและทำการรบ ส่วนพลทหารก็ค่อยๆ เปลี่ยนจากการอาสาสมัครไปสู่การเรียกเกณฑ์ ด้วยอำนาจของรัฐชาติ ทำให้เรียกเกณฑ์ได้จำนวนมาก เพราะรัฐชาติรวบรวมภาษีไว้ได้มากกว่าที่เจ้านายสมัยก่อนจะสามารถเรียกได้ จึงมีกำลังทางเศรษฐกิจที่จะเลี้ยงดูกองทัพที่มีกำลังพลจำนวนมาก พร้อมทั้งฝึกปรือทักษะขั้นพื้นฐานในการรบให้แก่ทหารเกณฑ์ได้หมด

ในหลายรัฐทั่วโลก ส่วนใหญ่แล้วไม่เคยมีกองทัพประจำการมาก่อน นอกจากกองกำลังเล็กๆ ที่มีไว้รักษาความปลอดภัยให้เจ้านาย เช่นเมืองไทยนั้นไม่เคยมีทั้งกองทัพประจำการจนถึง ร.5 และเช่นเดียวกับเมืองไทย เมื่อรัฐต่างๆ เริ่มเปลี่ยนหรือถูกบังคับให้เปลี่ยนมาเป็นรัฐชาติ (รัฐชาติจริงหรือจำแลงก็ตาม) ก็เกิดกองทัพประจำการของชาติขึ้นทั่วไป

ที่เรียกว่า "ทหาร" ในความหมายปัจจุบัน คือคนที่ทำงานอยู่ในกองทัพประจำการ เป็นอาชีพใหม่มากจนกระทั่งจะถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จึงเป็นปรกติธรรมดามากๆ

ที่สงครามในโลกสมัยใหม่มักรุนแรงและเกิดความเสียหายมาก ไม่ได้มาจากอาวุธยุทธภัณฑ์ซึ่งมีกำลังทำลายล้างสูงเพียงอย่างเดียว แต่เพราะกองทัพแห่งชาติที่เข้าสัประยุทธ์กันนั้น เป็นกองทัพขนาดใหญ่กว่าที่พระราชาหรือบริษัทค้าขายจะสามารถระดมมาได้ด้วย

เมื่อรัฐชาติมีกองทัพประจำการขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของความเป็นรัฐชาติ เพราะกองทัพเป็นเครื่องมือให้รัฐผูกขาดความรุนแรงได้เด็ดขาดที่สุด แต่ปัญหาที่ตามมาทันทีก็คือ แล้วกองทัพประจำการนั้นอยู่ในความบังคับบัญชาของใครกันเล่า โดยทฤษฎีแล้วกองทัพต้องอยู่ภายใต้การบังคับควบคุมของผู้บริหารรัฐ เพราะกองทัพเป็นกลไกรัฐอย่างหนึ่ง

แต่ในทางปฏิบัติแล้ว ในรัฐชาติซึ่งเกิดขึ้นโดยยังไม่มีอำนาจอื่นพัฒนาขึ้นมาให้สูงเด่นเป็นที่ยอมรับทั่วไป เช่น รัฐสภา, พรรคการเมืองผูกขาด (เช่น พรรคคอมมิวนิสต์ พรรคอุมโน หรือพรรคกิจประชา), หรือองค์กรศาสนา ฯลฯ กองทัพมักเป็นอิสระเหมือนเป็นรัฐซ้อนรัฐ (และมักจะซ้อนข้างบน) แสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ, เกียรติยศ, อำนาจทางการเมือง ฯลฯ ให้แก่องค์กรของตนเอง หรือผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นนายทหารระดับสูง วิธีจะทำอย่างนั้นมักใช้อำนาจดิบที่มีในมือข่มขู่ให้อำนาจอื่นๆ ต้องยอมตามคำเรียกร้อง หรือมิฉะนั้นก็ร่วมมือกับบุคคลบางคนที่พอมีฐานคะแนนนิยมในสังคมอยู่บ้าง แลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน เช่น อดีตประธานาธิบดีมาร์กอสแห่งฟิลิปปินส์ หรือซูฮาร์โตแห่งอินโดนีเซีย กองทัพได้ค่าต๋งจากงบประมาณและการเรียกเก็บนอกกฎหมาย รวมทั้งตำแหน่งฝ่ายพลเรือนทั้งในรัฐวิสาหกิจและผู้ว่าราชการจังหวัด ในขณะที่ผู้มีฐานคะแนนนิยมอยู่ในสังคมได้อำนาจเด็ดขาดทางการเมือง จะใช้อำนาจนี้ไปทำอะไรต่อก็แล้วแต่บุคคล

ในแง่นี้ กองทัพในหลายรัฐชาติ จึงขัดขวางพัฒนาการสองอย่างของรัฐชาติ หนึ่งคือขัดขวางพัฒนาการของประชาธิปไตย และสองคือขัดขวางแม้แต่พัฒนาการของความเป็นชาติในรัฐนั้น เพราะบทบาทของกองทัพทำให้พลเมืองทั่วไปมองไม่เห็นว่าชาติเป็นสมบัติร่วมกันของทุกคนโดยเสมอภาค ตราบเท่าที่แม้แต่สำนึกพื้นฐานของชาติเพียงเท่านี้ยังไม่เกิดแก่พลเมืองทั่วไป ตราบนั้นก็ไม่มีทางจะเกิด "ชาติ" ที่แท้จริงขึ้นได้ ไม่ว่ากองทัพจะเน้นย้ำความรักชาติสักเพียงใดก็ตาม

ปัญหาที่ตามมาอีกอย่างหนึ่งคือ การรักษาอธิปไตยของรัฐชาติ อันที่จริงเป็นหน้าที่ซึ่งทำกันหลายฝ่าย แต่หากโชคร้ายที่ถึงที่สุดแล้วต้องมาลงเอยที่สงคราม กองทัพจะมีหน้าที่สำคัญสุด แต่สงครามเป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงแก่ทุกฝ่าย แม้แต่ฝ่ายที่ชนะ จึงมีความพยายามจะสร้างกลไกไว้นานาชนิด เพื่อทำให้ความขัดแย้งระหว่างรัฐไม่พัฒนาไปจนถึงจุดที่ต้องทำสงครามระหว่างกัน แต่จะพูดว่ากลไกระหว่างประเทศเหล่านี้ไม่ประสบความสำเร็จก็ได้ เช่น สนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Westphalia) ซึ่งกำหนดให้รัฐไม่ว่าใหญ่หรือเล็กในยุโรปตะวันตกมีอธิปไตยเท่าเทียมกันหมด ตามมาด้วยการสร้างดุลอำนาจระหว่างรัฐใหญ่ต่างๆ เพื่อทำให้สงครามเกิดขึ้นได้ยาก แต่แล้วยุโรปตะวันตกก็เกิดสงครามขึ้นจนได้ ซ้ำเป็นสงครามร้ายแรงด้วย เพราะยกเอาพันธมิตรในดุลอำนาจฝ่ายตนเข้าราวีห้ำหั่นกัน

ทั้งนี้ ยังไม่พูดถึงสงครามแย่งผลประโยชน์กันนอกยุโรปตะวันตก เช่นในแอฟริกาและเอเชีย ซึ่งไม่ถูกถือตามสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียว่าทุกรัฐมีอธิปไตยเท่ากัน

มองด้านล้มเหลวก็ล้มเหลว แต่มองด้านสำเร็จก็สำเร็จมากเหมือนกัน จากสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียมาถึงปัจจุบัน กลไกระหว่างประเทศดังกล่าวถูกพัฒนาไปอย่างมาก นอกจากองค์กรโลกเช่นสหประชาชาติแล้ว ยังมีการรวมกลุ่มในภูมิภาคต่างๆ เช่น สหภาพยุโรป, อาเซียน และกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอเมริกาเหนือและกลาง โอกาสที่จะเกิดสงครามภายในกลุ่มเหล่านี้เหลือน้อยลงมาก ถึงยังมีสงครามกับประเทศนอกกลุ่ม แต่ก็อยู่ในวงจำกัดไม่ลามไปเป็นสงครามขนาดใหญ่

โลกภายใต้กลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและระงับสงครามดังที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน ทำให้คำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามที่มีเหตุผล และควรต้องถามกันอย่างวิเคราะห์เจาะลึกทีเดียว อาจเป็นได้ว่ากองทัพประจำชาติคือกระดุมที่ติดอยู่ปลายแขนเสื้อนอก ซึ่งไม่ได้มีไว้กลัดกับอะไร แต่ต้องมีไว้เพราะเป็นธรรมเนียมที่เหลือตกค้างมาแต่อดีต

แม้แต่จะธำรงรักษากองทัพแห่งชาติไว้ ก็ต้องปรับเปลี่ยนการจัดองค์กร, ขนาด, เครื่องไม้เครื่องมือ, สายการบังคับบัญชา ฯลฯ กันใหม่หมด จึงจะเหมาะกับโลกปัจจุบันซึ่งมีกลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและป้องปรามการสงครามที่สลับซับซ้อนเช่นนี้

คําถาม "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามสำคัญแห่งยุคสมัยอย่างที่แทบจะหาคำถามอื่นเทียบไม่ได้ และเราต้องไม่ลืมว่า กองทัพแห่งชาติบวกกับธุรกิจค้าอาวุธและยุทธบริการแก่ทหาร ทำให้กองทัพไม่ว่าของชาติใดทั้งสิ้นเป็นองค์กรรัฐที่สิ้นเปลืองอย่างมาก จนบางครั้งแทบทำให้รัฐพิการลงไปเพราะหมดสมรรถนะที่จะดูแลพลเมืองของตนเอง

ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถทำให้ทุกคนเข้านอนได้ด้วยท้องที่อิ่ม ไม่มีกองทัพ จะมีเงินเหลือมาปรับปรุงระบบสุขภาพถ้วนหน้าได้มากกว่านี้อีก และในทุกประเทศทั่วโลก ไม่มีกองทัพ เด็กและผู้ใหญ่ทุกคนที่อยากเรียนรู้ จะได้เรียนรู้ ไม่มีกองทัพ โลกทั้งโลกจะสามารถบรรลุเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกได้ก่อนเวลาที่ตกลงกันเป็นหลายสิบปี ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถขจัดโรคติดต่อร้ายแรงให้หมดไปจากโลกโดยสิ้นเชิงได้ ไม่มีกองทัพ ทั้งโลกจะยิ่งพัฒนากลไกระหว่างประเทศเพื่อระงับสงครามให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ไม่มีกองทัพ… จะมีโลกใหม่ที่ชีวิตผู้คนอาจดำเนินไปอย่างสงบสุขและสร้างสรรค์กว่าที่เราเผชิญมา

เรามาช่วยกันตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ให้ติดปากทุกคน และช่วยกันหาคำตอบต่อคำถามนี้อย่างเอาจริงเอาจัง โดยไม่ยอมให้ใครสถาปนาแนวคำตอบของตนขึ้นครอบงำคนอื่น

ทหารมีไว้ทำไม???? คำถามที่คนไทยต้องคิดทบทวน!!!





ใบตองแห้งเอ้ยไม่ใช่ขอโทษ!!บทความที่ผู้นำเหล่าทัพทหารและผบ.สส.ออกมารุมวิจารณ์ "ทหารมีไว้ทำไม?"  โดย อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์
------------------------------------
ตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ก่อให้เกิดความเสียหายแน่ แต่ไม่ใช่กับคนที่แต่งเครื่องแบบจำนวนน้อยที่เป็นนายทหาร พวกนี้เสียหายเหมือนกัน แต่เป็นความเสียหายระดับกระจอก แม้แต่เมื่อรวมเงินกินนอกกินในที่ได้จากการซื้ออาวุธยุทธภัณฑ์แล้ว ก็ยังถือว่ากระจอก

เงินจำนวนมหาศาลจากวิสาหกิจกองทัพไม่ได้ใช้จ่ายไปกับเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง เหรียญตรา ฯลฯ ของทหารหรอกครับ แต่จ่ายไปกับอาวุธยุทธภัณฑ์และยุทธบริการที่ขายให้แก่กองทัพโดยบริษัทต่างๆ นี่เป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งของการผลิตในโลกปัจจุบัน มีการจ้างงานคนจำนวนมาก ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำกำไรต่อปีมากกว่างบประมาณประจำปีของหลายประเทศในโลกนี้ แบ่งปันกันไปในหมู่ผู้ถือหุ้น ทั้งรายใหญ่และเล็ก รวมทั้งรัฐบาลของประเทศผู้ผลิตอาวุธด้วย

หากไม่สามารถตอบให้เป็นที่น่าพอใจได้ว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จนทำให้โลกนี้ไม่มีทหารเหลืออยู่อีกเลย ส่วนนี้ของระบบการผลิตในโลกปัจจุบันจะต้องยุติลง คงใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าเศรษฐกิจใหญ่ๆ ทั้งหลายจะสามารถปรับตัว เอาทุนและแรงงานฝีมือไปใช้ในการผลิตสิ่งอื่นซึ่งมีการแข่งขันสูงกว่าได้ ฉะนั้น บางส่วนคงเจ๊ง และบางส่วนก็อาจหากำไรในการประกอบการอย่างอื่นได้ แต่จะให้ได้กำไรเหมือนการผลิตอาวุธและยุทธบริการไม่ได้หรอก

เสียหายแน่ แต่เสียด้านหนึ่งก็จะมีผลดีต่ออีกด้านหนึ่ง

ย้อนกลับไปเพียงแค่สมัยอยุธยาตอนปลาย ไปถามว่าทหารมีไว้ทำไม ชนชั้นปกครองก็จะตอบว่า เพื่อจัดหมวดหมู่กำลังแรงงานไพร่ เอาไว้ใช้ในราชการบ้าง ในกิจการส่วนตัวของเจ้าขุนมูลนายบ้าง แต่จะไม่มีใครตอบว่าเพื่อเป็นยามไว้ป้องกันขโมยเป็นอันขาด เพราะไพร่ที่ถูกจัดในหมวดทหาร มิได้มีหน้าที่พิเศษในด้านการรบ เมื่อเกิดศึกสงครามขึ้น ไพร่ที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่พลเรือนก็ถูกเกณฑ์ไปรบไม่ต่างจากไพร่ในหมวดหมู่ทหาร

พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ สังคมไทยไม่เคยมีชนชั้น หรือกลุ่มประชากร ที่มีอาชีพในการรบเหมือนสังคมยุโรปหรือญี่ปุ่น อันที่จริงพูดว่าอัศวินในสมัยกลางของยุโรป หรือซามูไร เป็นอาชีพ ก็ชวนให้ไขว้เขวได้ อย่างน้อยคนเหล่านี้ไม่เคยคิดว่าตัวต้องทำอะไรเพื่อแลกกับอาหารและเครื่องอุปโภค คนที่ต้องทำอย่างนั้นคือชาวนาซึ่งไม่มีศักดิ์ศรีเหมือนอัศวินหรือซามูไร พวกเขาสั่งสมความสามารถในการรบไว้กับตัวเพื่อรับใช้นายของเขาด้วยความภักดี และความสามารถในการรบเป็นเกียรติยศในตัวของมันเอง ไม่ใช่ไว้ทำมาหากิน

คนเหล่านี้สังกัดใน "ชนชั้น" ของนักรบ เรียกว่าชนชั้นก็เพราะสืบทอดสถานะนั้นผ่านลงมายังลูกหลานได้ และสังคมไทยกับอีกหลายสังคมในโลกนี้ ก็ไม่เคยมี "ชนชั้น" อย่างนี้ในสังคม จริงๆ คำว่า "ทหาร" ในกฎหมายตราสามดวงแปลว่าอะไรก็ไม่รู้แน่หรอกครับ ถ้ามันเคยมีความหมายอะไรเกี่ยวกับเรื่องรบราฆ่าฟันมาก่อน ความหมายนั้นก็เลือนไปในกฎหมายตราสามดวงแล้ว

หากจะนับนักรบเป็นชนชั้นในสังคมโบราณ ยังมีชนชั้นนักรบในสังคมที่ไม่ใช่ยุโรปและญี่ปุ่นอีก เช่นบางสังคมมีกองทัพทาส คือเอาทาสมาฝึกรบ จนกลายเป็นกองกำลังประจำการของพระราชาหรือของเจ้าครองแคว้น ลูกหลานของทาสเหล่านี้ก็ยังดำรงสถานะนักรบประจำการของนายสืบมา จึงถือว่าเป็นชนชั้นเหมือนกัน


ในอีกหลายสังคม โดยเฉพาะชนเผ่าเร่ร่อน การรบหรือการต่อสู้สัมพันธ์อย่างแยกไม่ออกจากการล่าสัตว์, การรักษาทุ่งหญ้าที่ใช้เลี้ยงสัตว์, หรือบางทีก็รวมการหาคู่ด้วย ดังนั้น วิถีที่เด็กผู้ชายเติบโตขึ้นมาก็คือถูกฝึกปรือให้มีความชำนาญด้านการต่อสู้ เช่น ขี่ม้าได้ตั้งแต่ยังเดินไม่คล่อง ผู้ชายของเผ่าทุกคนจึงรบเป็น แต่จะเรียกว่าพวกเขาเป็น "ทหาร" ทั้งหมดก็คงไม่ได้ เพราะเขาคือนักเลี้ยงสัตว์ที่รบเป็นเท่านั้น

ผมไล่เรียงนักรบในสังคมต่างๆ มาเพื่อจะบอกว่า "ทหาร" ตามที่เราเข้าใจปัจจุบันเป็นสิ่งใหม่มาก เป็น "อาชีพ" ที่เกิดขึ้นในเงื่อนไขของโลกสมัยใหม่ นั่นคือเมื่อรัฐไม่ได้เป็นสมบัติส่วนตัวของพระราชาแล้ว แต่เป็นสมบัติร่วมกันของพลเมืองทุกคน หน้าที่ป้องกันบ้านเมืองจึงกลายเป็นของทุกคน

ในยุโรป ความคิดแบบนี้เกิดแก่ชาวฝรั่งเศสขึ้นก่อนหลังปฏิวัติฝรั่งเศส และด้วยเหตุดังนั้นกองทัพฝรั่งเศส จึงสามารถป้องกันประเทศจากการรุมยำของมหาอำนาจยุโรปสมัยนั้น (ออสเตรีย, ปรัสเซีย, อังกฤษ) ได้สำเร็จ เพราะมหาอำนาจเหล่านั้นล้วนยังใช้กองทัพนักรบและไพร่พลสังกัดมูลนายมารบกับกองทัพฝรั่งเศส ซึ่งกลายเป็นกองทัพของอาสาสมัครพลเมือง ซึ่งไม่คิดจะรบให้ใครนอกจากให้แก่ "ชาติ" ซึ่งมีตนเองเป็นส่วนหนึ่งในชาติ ปลดปล่อยฝรั่งเศสจากศัตรู คือปลดปล่อยตนเองจากพันธนาการของระบบศักดินา

ความเป็นชาติทำให้เกิดกองทัพประจำการขึ้นอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากกองทัพประจำการที่เคยมีมาก่อนทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นกองทัพซึ่งมีไว้รักษาพระองค์, หรือราชวงศ์, หรือตระกูลเจ้าเมือง, หรือเจ้าครองแคว้น และไม่เหมือนกองทัพรับจ้างซึ่งนายทุนใหญ่ๆ มักสร้างขึ้นมาเพื่อประโยชน์ในการหากำไรทางการค้าของตนเอง เช่นกองทัพของบริษัทอินเดียตะวันออกทั้งของวิลันดาและอังกฤษ มีคนหลายชนชาติรับจ้างรบให้กับบริษัทของทั้งวิลันดาและอังกฤษ

กองทัพแห่งชาติเป็นกองกำลังประจำการ คือไม่ได้มีอยู่ตอนจะรบกับใคร แต่มีประจำการอยู่ตลอดเวลา อย่างน้อยก็ต้องรักษาแกนกลางของกองทัพเอาไว้ คือกลุ่มนายทหารซึ่งร่ำเรียนมาในการทำสงครามและทำการรบ ส่วนพลทหารก็ค่อยๆ เปลี่ยนจากการอาสาสมัครไปสู่การเรียกเกณฑ์ ด้วยอำนาจของรัฐชาติ ทำให้เรียกเกณฑ์ได้จำนวนมาก เพราะรัฐชาติรวบรวมภาษีไว้ได้มากกว่าที่เจ้านายสมัยก่อนจะสามารถเรียกได้ จึงมีกำลังทางเศรษฐกิจที่จะเลี้ยงดูกองทัพที่มีกำลังพลจำนวนมาก พร้อมทั้งฝึกปรือทักษะขั้นพื้นฐานในการรบให้แก่ทหารเกณฑ์ได้หมด

ในหลายรัฐทั่วโลก ส่วนใหญ่แล้วไม่เคยมีกองทัพประจำการมาก่อน นอกจากกองกำลังเล็กๆ ที่มีไว้รักษาความปลอดภัยให้เจ้านาย เช่นเมืองไทยนั้นไม่เคยมีทั้งกองทัพประจำการจนถึง ร.5 และเช่นเดียวกับเมืองไทย เมื่อรัฐต่างๆ เริ่มเปลี่ยนหรือถูกบังคับให้เปลี่ยนมาเป็นรัฐชาติ (รัฐชาติจริงหรือจำแลงก็ตาม) ก็เกิดกองทัพประจำการของชาติขึ้นทั่วไป

ที่เรียกว่า "ทหาร" ในความหมายปัจจุบัน คือคนที่ทำงานอยู่ในกองทัพประจำการ เป็นอาชีพใหม่มากจนกระทั่งจะถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จึงเป็นปรกติธรรมดามากๆ

ที่สงครามในโลกสมัยใหม่มักรุนแรงและเกิดความเสียหายมาก ไม่ได้มาจากอาวุธยุทธภัณฑ์ซึ่งมีกำลังทำลายล้างสูงเพียงอย่างเดียว แต่เพราะกองทัพแห่งชาติที่เข้าสัประยุทธ์กันนั้น เป็นกองทัพขนาดใหญ่กว่าที่พระราชาหรือบริษัทค้าขายจะสามารถระดมมาได้ด้วย

เมื่อรัฐชาติมีกองทัพประจำการขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของความเป็นรัฐชาติ เพราะกองทัพเป็นเครื่องมือให้รัฐผูกขาดความรุนแรงได้เด็ดขาดที่สุด แต่ปัญหาที่ตามมาทันทีก็คือ แล้วกองทัพประจำการนั้นอยู่ในความบังคับบัญชาของใครกันเล่า โดยทฤษฎีแล้วกองทัพต้องอยู่ภายใต้การบังคับควบคุมของผู้บริหารรัฐ เพราะกองทัพเป็นกลไกรัฐอย่างหนึ่ง

แต่ในทางปฏิบัติแล้ว ในรัฐชาติซึ่งเกิดขึ้นโดยยังไม่มีอำนาจอื่นพัฒนาขึ้นมาให้สูงเด่นเป็นที่ยอมรับทั่วไป เช่น รัฐสภา, พรรคการเมืองผูกขาด (เช่น พรรคคอมมิวนิสต์ พรรคอุมโน หรือพรรคกิจประชา), หรือองค์กรศาสนา ฯลฯ กองทัพมักเป็นอิสระเหมือนเป็นรัฐซ้อนรัฐ (และมักจะซ้อนข้างบน) แสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ, เกียรติยศ, อำนาจทางการเมือง ฯลฯ ให้แก่องค์กรของตนเอง หรือผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นนายทหารระดับสูง วิธีจะทำอย่างนั้นมักใช้อำนาจดิบที่มีในมือข่มขู่ให้อำนาจอื่นๆ ต้องยอมตามคำเรียกร้อง หรือมิฉะนั้นก็ร่วมมือกับบุคคลบางคนที่พอมีฐานคะแนนนิยมในสังคมอยู่บ้าง แลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน เช่น อดีตประธานาธิบดีมาร์กอสแห่งฟิลิปปินส์ หรือซูฮาร์โตแห่งอินโดนีเซีย กองทัพได้ค่าต๋งจากงบประมาณและการเรียกเก็บนอกกฎหมาย รวมทั้งตำแหน่งฝ่ายพลเรือนทั้งในรัฐวิสาหกิจและผู้ว่าราชการจังหวัด ในขณะที่ผู้มีฐานคะแนนนิยมอยู่ในสังคมได้อำนาจเด็ดขาดทางการเมือง จะใช้อำนาจนี้ไปทำอะไรต่อก็แล้วแต่บุคคล

ในแง่นี้ กองทัพในหลายรัฐชาติ จึงขัดขวางพัฒนาการสองอย่างของรัฐชาติ หนึ่งคือขัดขวางพัฒนาการของประชาธิปไตย และสองคือขัดขวางแม้แต่พัฒนาการของความเป็นชาติในรัฐนั้น เพราะบทบาทของกองทัพทำให้พลเมืองทั่วไปมองไม่เห็นว่าชาติเป็นสมบัติร่วมกันของทุกคนโดยเสมอภาค ตราบเท่าที่แม้แต่สำนึกพื้นฐานของชาติเพียงเท่านี้ยังไม่เกิดแก่พลเมืองทั่วไป ตราบนั้นก็ไม่มีทางจะเกิด "ชาติ" ที่แท้จริงขึ้นได้ ไม่ว่ากองทัพจะเน้นย้ำความรักชาติสักเพียงใดก็ตาม

ปัญหาที่ตามมาอีกอย่างหนึ่งคือ การรักษาอธิปไตยของรัฐชาติ อันที่จริงเป็นหน้าที่ซึ่งทำกันหลายฝ่าย แต่หากโชคร้ายที่ถึงที่สุดแล้วต้องมาลงเอยที่สงคราม กองทัพจะมีหน้าที่สำคัญสุด แต่สงครามเป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงแก่ทุกฝ่าย แม้แต่ฝ่ายที่ชนะ จึงมีความพยายามจะสร้างกลไกไว้นานาชนิด เพื่อทำให้ความขัดแย้งระหว่างรัฐไม่พัฒนาไปจนถึงจุดที่ต้องทำสงครามระหว่างกัน แต่จะพูดว่ากลไกระหว่างประเทศเหล่านี้ไม่ประสบความสำเร็จก็ได้ เช่น สนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Westphalia) ซึ่งกำหนดให้รัฐไม่ว่าใหญ่หรือเล็กในยุโรปตะวันตกมีอธิปไตยเท่าเทียมกันหมด ตามมาด้วยการสร้างดุลอำนาจระหว่างรัฐใหญ่ต่างๆ เพื่อทำให้สงครามเกิดขึ้นได้ยาก แต่แล้วยุโรปตะวันตกก็เกิดสงครามขึ้นจนได้ ซ้ำเป็นสงครามร้ายแรงด้วย เพราะยกเอาพันธมิตรในดุลอำนาจฝ่ายตนเข้าราวีห้ำหั่นกัน

ทั้งนี้ ยังไม่พูดถึงสงครามแย่งผลประโยชน์กันนอกยุโรปตะวันตก เช่นในแอฟริกาและเอเชีย ซึ่งไม่ถูกถือตามสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียว่าทุกรัฐมีอธิปไตยเท่ากัน

มองด้านล้มเหลวก็ล้มเหลว แต่มองด้านสำเร็จก็สำเร็จมากเหมือนกัน จากสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียมาถึงปัจจุบัน กลไกระหว่างประเทศดังกล่าวถูกพัฒนาไปอย่างมาก นอกจากองค์กรโลกเช่นสหประชาชาติแล้ว ยังมีการรวมกลุ่มในภูมิภาคต่างๆ เช่น สหภาพยุโรป, อาเซียน และกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอเมริกาเหนือและกลาง โอกาสที่จะเกิดสงครามภายในกลุ่มเหล่านี้เหลือน้อยลงมาก ถึงยังมีสงครามกับประเทศนอกกลุ่ม แต่ก็อยู่ในวงจำกัดไม่ลามไปเป็นสงครามขนาดใหญ่

โลกภายใต้กลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและระงับสงครามดังที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน ทำให้คำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามที่มีเหตุผล และควรต้องถามกันอย่างวิเคราะห์เจาะลึกทีเดียว อาจเป็นได้ว่ากองทัพประจำชาติคือกระดุมที่ติดอยู่ปลายแขนเสื้อนอก ซึ่งไม่ได้มีไว้กลัดกับอะไร แต่ต้องมีไว้เพราะเป็นธรรมเนียมที่เหลือตกค้างมาแต่อดีต

แม้แต่จะธำรงรักษากองทัพแห่งชาติไว้ ก็ต้องปรับเปลี่ยนการจัดองค์กร, ขนาด, เครื่องไม้เครื่องมือ, สายการบังคับบัญชา ฯลฯ กันใหม่หมด จึงจะเหมาะกับโลกปัจจุบันซึ่งมีกลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและป้องปรามการสงครามที่สลับซับซ้อนเช่นนี้

คําถาม "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามสำคัญแห่งยุคสมัยอย่างที่แทบจะหาคำถามอื่นเทียบไม่ได้ และเราต้องไม่ลืมว่า กองทัพแห่งชาติบวกกับธุรกิจค้าอาวุธและยุทธบริการแก่ทหาร ทำให้กองทัพไม่ว่าของชาติใดทั้งสิ้นเป็นองค์กรรัฐที่สิ้นเปลืองอย่างมาก จนบางครั้งแทบทำให้รัฐพิการลงไปเพราะหมดสมรรถนะที่จะดูแลพลเมืองของตนเอง

ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถทำให้ทุกคนเข้านอนได้ด้วยท้องที่อิ่ม ไม่มีกองทัพ จะมีเงินเหลือมาปรับปรุงระบบสุขภาพถ้วนหน้าได้มากกว่านี้อีก และในทุกประเทศทั่วโลก ไม่มีกองทัพ เด็กและผู้ใหญ่ทุกคนที่อยากเรียนรู้ จะได้เรียนรู้ ไม่มีกองทัพ โลกทั้งโลกจะสามารถบรรลุเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกได้ก่อนเวลาที่ตกลงกันเป็นหลายสิบปี ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถขจัดโรคติดต่อร้ายแรงให้หมดไปจากโลกโดยสิ้นเชิงได้ ไม่มีกองทัพ ทั้งโลกจะยิ่งพัฒนากลไกระหว่างประเทศเพื่อระงับสงครามให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ไม่มีกองทัพ… จะมีโลกใหม่ที่ชีวิตผู้คนอาจดำเนินไปอย่างสงบสุขและสร้างสรรค์กว่าที่เราเผชิญมา

เรามาช่วยกันตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ให้ติดปากทุกคน และช่วยกันหาคำตอบต่อคำถามนี้อย่างเอาจริงเอาจัง โดยไม่ยอมให้ใครสถาปนาแนวคำตอบของตนขึ้นครอบงำคนอื่น

ทหารมีไว้ทำไม???? คำถามที่คนไทยต้องคิดทบทวน!!!





ใบตองแห้งเอ้ยไม่ใช่ขอโทษ!!บทความที่ผู้นำเหล่าทัพทหารและผบ.สส.ออกมารุมวิจารณ์ "ทหารมีไว้ทำไม?"  โดย อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์
------------------------------------
ตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ก่อให้เกิดความเสียหายแน่ แต่ไม่ใช่กับคนที่แต่งเครื่องแบบจำนวนน้อยที่เป็นนายทหาร พวกนี้เสียหายเหมือนกัน แต่เป็นความเสียหายระดับกระจอก แม้แต่เมื่อรวมเงินกินนอกกินในที่ได้จากการซื้ออาวุธยุทธภัณฑ์แล้ว ก็ยังถือว่ากระจอก

เงินจำนวนมหาศาลจากวิสาหกิจกองทัพไม่ได้ใช้จ่ายไปกับเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง เหรียญตรา ฯลฯ ของทหารหรอกครับ แต่จ่ายไปกับอาวุธยุทธภัณฑ์และยุทธบริการที่ขายให้แก่กองทัพโดยบริษัทต่างๆ นี่เป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งของการผลิตในโลกปัจจุบัน มีการจ้างงานคนจำนวนมาก ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำกำไรต่อปีมากกว่างบประมาณประจำปีของหลายประเทศในโลกนี้ แบ่งปันกันไปในหมู่ผู้ถือหุ้น ทั้งรายใหญ่และเล็ก รวมทั้งรัฐบาลของประเทศผู้ผลิตอาวุธด้วย

หากไม่สามารถตอบให้เป็นที่น่าพอใจได้ว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จนทำให้โลกนี้ไม่มีทหารเหลืออยู่อีกเลย ส่วนนี้ของระบบการผลิตในโลกปัจจุบันจะต้องยุติลง คงใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าเศรษฐกิจใหญ่ๆ ทั้งหลายจะสามารถปรับตัว เอาทุนและแรงงานฝีมือไปใช้ในการผลิตสิ่งอื่นซึ่งมีการแข่งขันสูงกว่าได้ ฉะนั้น บางส่วนคงเจ๊ง และบางส่วนก็อาจหากำไรในการประกอบการอย่างอื่นได้ แต่จะให้ได้กำไรเหมือนการผลิตอาวุธและยุทธบริการไม่ได้หรอก

เสียหายแน่ แต่เสียด้านหนึ่งก็จะมีผลดีต่ออีกด้านหนึ่ง

ย้อนกลับไปเพียงแค่สมัยอยุธยาตอนปลาย ไปถามว่าทหารมีไว้ทำไม ชนชั้นปกครองก็จะตอบว่า เพื่อจัดหมวดหมู่กำลังแรงงานไพร่ เอาไว้ใช้ในราชการบ้าง ในกิจการส่วนตัวของเจ้าขุนมูลนายบ้าง แต่จะไม่มีใครตอบว่าเพื่อเป็นยามไว้ป้องกันขโมยเป็นอันขาด เพราะไพร่ที่ถูกจัดในหมวดทหาร มิได้มีหน้าที่พิเศษในด้านการรบ เมื่อเกิดศึกสงครามขึ้น ไพร่ที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่พลเรือนก็ถูกเกณฑ์ไปรบไม่ต่างจากไพร่ในหมวดหมู่ทหาร

พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ สังคมไทยไม่เคยมีชนชั้น หรือกลุ่มประชากร ที่มีอาชีพในการรบเหมือนสังคมยุโรปหรือญี่ปุ่น อันที่จริงพูดว่าอัศวินในสมัยกลางของยุโรป หรือซามูไร เป็นอาชีพ ก็ชวนให้ไขว้เขวได้ อย่างน้อยคนเหล่านี้ไม่เคยคิดว่าตัวต้องทำอะไรเพื่อแลกกับอาหารและเครื่องอุปโภค คนที่ต้องทำอย่างนั้นคือชาวนาซึ่งไม่มีศักดิ์ศรีเหมือนอัศวินหรือซามูไร พวกเขาสั่งสมความสามารถในการรบไว้กับตัวเพื่อรับใช้นายของเขาด้วยความภักดี และความสามารถในการรบเป็นเกียรติยศในตัวของมันเอง ไม่ใช่ไว้ทำมาหากิน

คนเหล่านี้สังกัดใน "ชนชั้น" ของนักรบ เรียกว่าชนชั้นก็เพราะสืบทอดสถานะนั้นผ่านลงมายังลูกหลานได้ และสังคมไทยกับอีกหลายสังคมในโลกนี้ ก็ไม่เคยมี "ชนชั้น" อย่างนี้ในสังคม จริงๆ คำว่า "ทหาร" ในกฎหมายตราสามดวงแปลว่าอะไรก็ไม่รู้แน่หรอกครับ ถ้ามันเคยมีความหมายอะไรเกี่ยวกับเรื่องรบราฆ่าฟันมาก่อน ความหมายนั้นก็เลือนไปในกฎหมายตราสามดวงแล้ว

หากจะนับนักรบเป็นชนชั้นในสังคมโบราณ ยังมีชนชั้นนักรบในสังคมที่ไม่ใช่ยุโรปและญี่ปุ่นอีก เช่นบางสังคมมีกองทัพทาส คือเอาทาสมาฝึกรบ จนกลายเป็นกองกำลังประจำการของพระราชาหรือของเจ้าครองแคว้น ลูกหลานของทาสเหล่านี้ก็ยังดำรงสถานะนักรบประจำการของนายสืบมา จึงถือว่าเป็นชนชั้นเหมือนกัน


ในอีกหลายสังคม โดยเฉพาะชนเผ่าเร่ร่อน การรบหรือการต่อสู้สัมพันธ์อย่างแยกไม่ออกจากการล่าสัตว์, การรักษาทุ่งหญ้าที่ใช้เลี้ยงสัตว์, หรือบางทีก็รวมการหาคู่ด้วย ดังนั้น วิถีที่เด็กผู้ชายเติบโตขึ้นมาก็คือถูกฝึกปรือให้มีความชำนาญด้านการต่อสู้ เช่น ขี่ม้าได้ตั้งแต่ยังเดินไม่คล่อง ผู้ชายของเผ่าทุกคนจึงรบเป็น แต่จะเรียกว่าพวกเขาเป็น "ทหาร" ทั้งหมดก็คงไม่ได้ เพราะเขาคือนักเลี้ยงสัตว์ที่รบเป็นเท่านั้น

ผมไล่เรียงนักรบในสังคมต่างๆ มาเพื่อจะบอกว่า "ทหาร" ตามที่เราเข้าใจปัจจุบันเป็นสิ่งใหม่มาก เป็น "อาชีพ" ที่เกิดขึ้นในเงื่อนไขของโลกสมัยใหม่ นั่นคือเมื่อรัฐไม่ได้เป็นสมบัติส่วนตัวของพระราชาแล้ว แต่เป็นสมบัติร่วมกันของพลเมืองทุกคน หน้าที่ป้องกันบ้านเมืองจึงกลายเป็นของทุกคน

ในยุโรป ความคิดแบบนี้เกิดแก่ชาวฝรั่งเศสขึ้นก่อนหลังปฏิวัติฝรั่งเศส และด้วยเหตุดังนั้นกองทัพฝรั่งเศส จึงสามารถป้องกันประเทศจากการรุมยำของมหาอำนาจยุโรปสมัยนั้น (ออสเตรีย, ปรัสเซีย, อังกฤษ) ได้สำเร็จ เพราะมหาอำนาจเหล่านั้นล้วนยังใช้กองทัพนักรบและไพร่พลสังกัดมูลนายมารบกับกองทัพฝรั่งเศส ซึ่งกลายเป็นกองทัพของอาสาสมัครพลเมือง ซึ่งไม่คิดจะรบให้ใครนอกจากให้แก่ "ชาติ" ซึ่งมีตนเองเป็นส่วนหนึ่งในชาติ ปลดปล่อยฝรั่งเศสจากศัตรู คือปลดปล่อยตนเองจากพันธนาการของระบบศักดินา

ความเป็นชาติทำให้เกิดกองทัพประจำการขึ้นอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากกองทัพประจำการที่เคยมีมาก่อนทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นกองทัพซึ่งมีไว้รักษาพระองค์, หรือราชวงศ์, หรือตระกูลเจ้าเมือง, หรือเจ้าครองแคว้น และไม่เหมือนกองทัพรับจ้างซึ่งนายทุนใหญ่ๆ มักสร้างขึ้นมาเพื่อประโยชน์ในการหากำไรทางการค้าของตนเอง เช่นกองทัพของบริษัทอินเดียตะวันออกทั้งของวิลันดาและอังกฤษ มีคนหลายชนชาติรับจ้างรบให้กับบริษัทของทั้งวิลันดาและอังกฤษ

กองทัพแห่งชาติเป็นกองกำลังประจำการ คือไม่ได้มีอยู่ตอนจะรบกับใคร แต่มีประจำการอยู่ตลอดเวลา อย่างน้อยก็ต้องรักษาแกนกลางของกองทัพเอาไว้ คือกลุ่มนายทหารซึ่งร่ำเรียนมาในการทำสงครามและทำการรบ ส่วนพลทหารก็ค่อยๆ เปลี่ยนจากการอาสาสมัครไปสู่การเรียกเกณฑ์ ด้วยอำนาจของรัฐชาติ ทำให้เรียกเกณฑ์ได้จำนวนมาก เพราะรัฐชาติรวบรวมภาษีไว้ได้มากกว่าที่เจ้านายสมัยก่อนจะสามารถเรียกได้ จึงมีกำลังทางเศรษฐกิจที่จะเลี้ยงดูกองทัพที่มีกำลังพลจำนวนมาก พร้อมทั้งฝึกปรือทักษะขั้นพื้นฐานในการรบให้แก่ทหารเกณฑ์ได้หมด

ในหลายรัฐทั่วโลก ส่วนใหญ่แล้วไม่เคยมีกองทัพประจำการมาก่อน นอกจากกองกำลังเล็กๆ ที่มีไว้รักษาความปลอดภัยให้เจ้านาย เช่นเมืองไทยนั้นไม่เคยมีทั้งกองทัพประจำการจนถึง ร.5 และเช่นเดียวกับเมืองไทย เมื่อรัฐต่างๆ เริ่มเปลี่ยนหรือถูกบังคับให้เปลี่ยนมาเป็นรัฐชาติ (รัฐชาติจริงหรือจำแลงก็ตาม) ก็เกิดกองทัพประจำการของชาติขึ้นทั่วไป

ที่เรียกว่า "ทหาร" ในความหมายปัจจุบัน คือคนที่ทำงานอยู่ในกองทัพประจำการ เป็นอาชีพใหม่มากจนกระทั่งจะถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จึงเป็นปรกติธรรมดามากๆ

ที่สงครามในโลกสมัยใหม่มักรุนแรงและเกิดความเสียหายมาก ไม่ได้มาจากอาวุธยุทธภัณฑ์ซึ่งมีกำลังทำลายล้างสูงเพียงอย่างเดียว แต่เพราะกองทัพแห่งชาติที่เข้าสัประยุทธ์กันนั้น เป็นกองทัพขนาดใหญ่กว่าที่พระราชาหรือบริษัทค้าขายจะสามารถระดมมาได้ด้วย

เมื่อรัฐชาติมีกองทัพประจำการขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของความเป็นรัฐชาติ เพราะกองทัพเป็นเครื่องมือให้รัฐผูกขาดความรุนแรงได้เด็ดขาดที่สุด แต่ปัญหาที่ตามมาทันทีก็คือ แล้วกองทัพประจำการนั้นอยู่ในความบังคับบัญชาของใครกันเล่า โดยทฤษฎีแล้วกองทัพต้องอยู่ภายใต้การบังคับควบคุมของผู้บริหารรัฐ เพราะกองทัพเป็นกลไกรัฐอย่างหนึ่ง

แต่ในทางปฏิบัติแล้ว ในรัฐชาติซึ่งเกิดขึ้นโดยยังไม่มีอำนาจอื่นพัฒนาขึ้นมาให้สูงเด่นเป็นที่ยอมรับทั่วไป เช่น รัฐสภา, พรรคการเมืองผูกขาด (เช่น พรรคคอมมิวนิสต์ พรรคอุมโน หรือพรรคกิจประชา), หรือองค์กรศาสนา ฯลฯ กองทัพมักเป็นอิสระเหมือนเป็นรัฐซ้อนรัฐ (และมักจะซ้อนข้างบน) แสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ, เกียรติยศ, อำนาจทางการเมือง ฯลฯ ให้แก่องค์กรของตนเอง หรือผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นนายทหารระดับสูง วิธีจะทำอย่างนั้นมักใช้อำนาจดิบที่มีในมือข่มขู่ให้อำนาจอื่นๆ ต้องยอมตามคำเรียกร้อง หรือมิฉะนั้นก็ร่วมมือกับบุคคลบางคนที่พอมีฐานคะแนนนิยมในสังคมอยู่บ้าง แลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน เช่น อดีตประธานาธิบดีมาร์กอสแห่งฟิลิปปินส์ หรือซูฮาร์โตแห่งอินโดนีเซีย กองทัพได้ค่าต๋งจากงบประมาณและการเรียกเก็บนอกกฎหมาย รวมทั้งตำแหน่งฝ่ายพลเรือนทั้งในรัฐวิสาหกิจและผู้ว่าราชการจังหวัด ในขณะที่ผู้มีฐานคะแนนนิยมอยู่ในสังคมได้อำนาจเด็ดขาดทางการเมือง จะใช้อำนาจนี้ไปทำอะไรต่อก็แล้วแต่บุคคล

ในแง่นี้ กองทัพในหลายรัฐชาติ จึงขัดขวางพัฒนาการสองอย่างของรัฐชาติ หนึ่งคือขัดขวางพัฒนาการของประชาธิปไตย และสองคือขัดขวางแม้แต่พัฒนาการของความเป็นชาติในรัฐนั้น เพราะบทบาทของกองทัพทำให้พลเมืองทั่วไปมองไม่เห็นว่าชาติเป็นสมบัติร่วมกันของทุกคนโดยเสมอภาค ตราบเท่าที่แม้แต่สำนึกพื้นฐานของชาติเพียงเท่านี้ยังไม่เกิดแก่พลเมืองทั่วไป ตราบนั้นก็ไม่มีทางจะเกิด "ชาติ" ที่แท้จริงขึ้นได้ ไม่ว่ากองทัพจะเน้นย้ำความรักชาติสักเพียงใดก็ตาม

ปัญหาที่ตามมาอีกอย่างหนึ่งคือ การรักษาอธิปไตยของรัฐชาติ อันที่จริงเป็นหน้าที่ซึ่งทำกันหลายฝ่าย แต่หากโชคร้ายที่ถึงที่สุดแล้วต้องมาลงเอยที่สงคราม กองทัพจะมีหน้าที่สำคัญสุด แต่สงครามเป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงแก่ทุกฝ่าย แม้แต่ฝ่ายที่ชนะ จึงมีความพยายามจะสร้างกลไกไว้นานาชนิด เพื่อทำให้ความขัดแย้งระหว่างรัฐไม่พัฒนาไปจนถึงจุดที่ต้องทำสงครามระหว่างกัน แต่จะพูดว่ากลไกระหว่างประเทศเหล่านี้ไม่ประสบความสำเร็จก็ได้ เช่น สนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Westphalia) ซึ่งกำหนดให้รัฐไม่ว่าใหญ่หรือเล็กในยุโรปตะวันตกมีอธิปไตยเท่าเทียมกันหมด ตามมาด้วยการสร้างดุลอำนาจระหว่างรัฐใหญ่ต่างๆ เพื่อทำให้สงครามเกิดขึ้นได้ยาก แต่แล้วยุโรปตะวันตกก็เกิดสงครามขึ้นจนได้ ซ้ำเป็นสงครามร้ายแรงด้วย เพราะยกเอาพันธมิตรในดุลอำนาจฝ่ายตนเข้าราวีห้ำหั่นกัน

ทั้งนี้ ยังไม่พูดถึงสงครามแย่งผลประโยชน์กันนอกยุโรปตะวันตก เช่นในแอฟริกาและเอเชีย ซึ่งไม่ถูกถือตามสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียว่าทุกรัฐมีอธิปไตยเท่ากัน

มองด้านล้มเหลวก็ล้มเหลว แต่มองด้านสำเร็จก็สำเร็จมากเหมือนกัน จากสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียมาถึงปัจจุบัน กลไกระหว่างประเทศดังกล่าวถูกพัฒนาไปอย่างมาก นอกจากองค์กรโลกเช่นสหประชาชาติแล้ว ยังมีการรวมกลุ่มในภูมิภาคต่างๆ เช่น สหภาพยุโรป, อาเซียน และกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอเมริกาเหนือและกลาง โอกาสที่จะเกิดสงครามภายในกลุ่มเหล่านี้เหลือน้อยลงมาก ถึงยังมีสงครามกับประเทศนอกกลุ่ม แต่ก็อยู่ในวงจำกัดไม่ลามไปเป็นสงครามขนาดใหญ่

โลกภายใต้กลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและระงับสงครามดังที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน ทำให้คำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามที่มีเหตุผล และควรต้องถามกันอย่างวิเคราะห์เจาะลึกทีเดียว อาจเป็นได้ว่ากองทัพประจำชาติคือกระดุมที่ติดอยู่ปลายแขนเสื้อนอก ซึ่งไม่ได้มีไว้กลัดกับอะไร แต่ต้องมีไว้เพราะเป็นธรรมเนียมที่เหลือตกค้างมาแต่อดีต

แม้แต่จะธำรงรักษากองทัพแห่งชาติไว้ ก็ต้องปรับเปลี่ยนการจัดองค์กร, ขนาด, เครื่องไม้เครื่องมือ, สายการบังคับบัญชา ฯลฯ กันใหม่หมด จึงจะเหมาะกับโลกปัจจุบันซึ่งมีกลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและป้องปรามการสงครามที่สลับซับซ้อนเช่นนี้

คําถาม "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามสำคัญแห่งยุคสมัยอย่างที่แทบจะหาคำถามอื่นเทียบไม่ได้ และเราต้องไม่ลืมว่า กองทัพแห่งชาติบวกกับธุรกิจค้าอาวุธและยุทธบริการแก่ทหาร ทำให้กองทัพไม่ว่าของชาติใดทั้งสิ้นเป็นองค์กรรัฐที่สิ้นเปลืองอย่างมาก จนบางครั้งแทบทำให้รัฐพิการลงไปเพราะหมดสมรรถนะที่จะดูแลพลเมืองของตนเอง

ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถทำให้ทุกคนเข้านอนได้ด้วยท้องที่อิ่ม ไม่มีกองทัพ จะมีเงินเหลือมาปรับปรุงระบบสุขภาพถ้วนหน้าได้มากกว่านี้อีก และในทุกประเทศทั่วโลก ไม่มีกองทัพ เด็กและผู้ใหญ่ทุกคนที่อยากเรียนรู้ จะได้เรียนรู้ ไม่มีกองทัพ โลกทั้งโลกจะสามารถบรรลุเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกได้ก่อนเวลาที่ตกลงกันเป็นหลายสิบปี ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถขจัดโรคติดต่อร้ายแรงให้หมดไปจากโลกโดยสิ้นเชิงได้ ไม่มีกองทัพ ทั้งโลกจะยิ่งพัฒนากลไกระหว่างประเทศเพื่อระงับสงครามให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ไม่มีกองทัพ… จะมีโลกใหม่ที่ชีวิตผู้คนอาจดำเนินไปอย่างสงบสุขและสร้างสรรค์กว่าที่เราเผชิญมา

เรามาช่วยกันตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ให้ติดปากทุกคน และช่วยกันหาคำตอบต่อคำถามนี้อย่างเอาจริงเอาจัง โดยไม่ยอมให้ใครสถาปนาแนวคำตอบของตนขึ้นครอบงำคนอื่น

ทหารมีไว้ทำไม???? คำถามที่คนไทยต้องคิดทบทวน!!!





ใบตองแห้งเอ้ยไม่ใช่ขอโทษ!!บทความที่ผู้นำเหล่าทัพทหารและผบ.สส.ออกมารุมวิจารณ์ "ทหารมีไว้ทำไม?"  โดย อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์
------------------------------------
ตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ก่อให้เกิดความเสียหายแน่ แต่ไม่ใช่กับคนที่แต่งเครื่องแบบจำนวนน้อยที่เป็นนายทหาร พวกนี้เสียหายเหมือนกัน แต่เป็นความเสียหายระดับกระจอก แม้แต่เมื่อรวมเงินกินนอกกินในที่ได้จากการซื้ออาวุธยุทธภัณฑ์แล้ว ก็ยังถือว่ากระจอก

เงินจำนวนมหาศาลจากวิสาหกิจกองทัพไม่ได้ใช้จ่ายไปกับเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง เหรียญตรา ฯลฯ ของทหารหรอกครับ แต่จ่ายไปกับอาวุธยุทธภัณฑ์และยุทธบริการที่ขายให้แก่กองทัพโดยบริษัทต่างๆ นี่เป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งของการผลิตในโลกปัจจุบัน มีการจ้างงานคนจำนวนมาก ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำกำไรต่อปีมากกว่างบประมาณประจำปีของหลายประเทศในโลกนี้ แบ่งปันกันไปในหมู่ผู้ถือหุ้น ทั้งรายใหญ่และเล็ก รวมทั้งรัฐบาลของประเทศผู้ผลิตอาวุธด้วย

หากไม่สามารถตอบให้เป็นที่น่าพอใจได้ว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จนทำให้โลกนี้ไม่มีทหารเหลืออยู่อีกเลย ส่วนนี้ของระบบการผลิตในโลกปัจจุบันจะต้องยุติลง คงใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าเศรษฐกิจใหญ่ๆ ทั้งหลายจะสามารถปรับตัว เอาทุนและแรงงานฝีมือไปใช้ในการผลิตสิ่งอื่นซึ่งมีการแข่งขันสูงกว่าได้ ฉะนั้น บางส่วนคงเจ๊ง และบางส่วนก็อาจหากำไรในการประกอบการอย่างอื่นได้ แต่จะให้ได้กำไรเหมือนการผลิตอาวุธและยุทธบริการไม่ได้หรอก

เสียหายแน่ แต่เสียด้านหนึ่งก็จะมีผลดีต่ออีกด้านหนึ่ง

ย้อนกลับไปเพียงแค่สมัยอยุธยาตอนปลาย ไปถามว่าทหารมีไว้ทำไม ชนชั้นปกครองก็จะตอบว่า เพื่อจัดหมวดหมู่กำลังแรงงานไพร่ เอาไว้ใช้ในราชการบ้าง ในกิจการส่วนตัวของเจ้าขุนมูลนายบ้าง แต่จะไม่มีใครตอบว่าเพื่อเป็นยามไว้ป้องกันขโมยเป็นอันขาด เพราะไพร่ที่ถูกจัดในหมวดทหาร มิได้มีหน้าที่พิเศษในด้านการรบ เมื่อเกิดศึกสงครามขึ้น ไพร่ที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่พลเรือนก็ถูกเกณฑ์ไปรบไม่ต่างจากไพร่ในหมวดหมู่ทหาร

พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ สังคมไทยไม่เคยมีชนชั้น หรือกลุ่มประชากร ที่มีอาชีพในการรบเหมือนสังคมยุโรปหรือญี่ปุ่น อันที่จริงพูดว่าอัศวินในสมัยกลางของยุโรป หรือซามูไร เป็นอาชีพ ก็ชวนให้ไขว้เขวได้ อย่างน้อยคนเหล่านี้ไม่เคยคิดว่าตัวต้องทำอะไรเพื่อแลกกับอาหารและเครื่องอุปโภค คนที่ต้องทำอย่างนั้นคือชาวนาซึ่งไม่มีศักดิ์ศรีเหมือนอัศวินหรือซามูไร พวกเขาสั่งสมความสามารถในการรบไว้กับตัวเพื่อรับใช้นายของเขาด้วยความภักดี และความสามารถในการรบเป็นเกียรติยศในตัวของมันเอง ไม่ใช่ไว้ทำมาหากิน

คนเหล่านี้สังกัดใน "ชนชั้น" ของนักรบ เรียกว่าชนชั้นก็เพราะสืบทอดสถานะนั้นผ่านลงมายังลูกหลานได้ และสังคมไทยกับอีกหลายสังคมในโลกนี้ ก็ไม่เคยมี "ชนชั้น" อย่างนี้ในสังคม จริงๆ คำว่า "ทหาร" ในกฎหมายตราสามดวงแปลว่าอะไรก็ไม่รู้แน่หรอกครับ ถ้ามันเคยมีความหมายอะไรเกี่ยวกับเรื่องรบราฆ่าฟันมาก่อน ความหมายนั้นก็เลือนไปในกฎหมายตราสามดวงแล้ว

หากจะนับนักรบเป็นชนชั้นในสังคมโบราณ ยังมีชนชั้นนักรบในสังคมที่ไม่ใช่ยุโรปและญี่ปุ่นอีก เช่นบางสังคมมีกองทัพทาส คือเอาทาสมาฝึกรบ จนกลายเป็นกองกำลังประจำการของพระราชาหรือของเจ้าครองแคว้น ลูกหลานของทาสเหล่านี้ก็ยังดำรงสถานะนักรบประจำการของนายสืบมา จึงถือว่าเป็นชนชั้นเหมือนกัน


ในอีกหลายสังคม โดยเฉพาะชนเผ่าเร่ร่อน การรบหรือการต่อสู้สัมพันธ์อย่างแยกไม่ออกจากการล่าสัตว์, การรักษาทุ่งหญ้าที่ใช้เลี้ยงสัตว์, หรือบางทีก็รวมการหาคู่ด้วย ดังนั้น วิถีที่เด็กผู้ชายเติบโตขึ้นมาก็คือถูกฝึกปรือให้มีความชำนาญด้านการต่อสู้ เช่น ขี่ม้าได้ตั้งแต่ยังเดินไม่คล่อง ผู้ชายของเผ่าทุกคนจึงรบเป็น แต่จะเรียกว่าพวกเขาเป็น "ทหาร" ทั้งหมดก็คงไม่ได้ เพราะเขาคือนักเลี้ยงสัตว์ที่รบเป็นเท่านั้น

ผมไล่เรียงนักรบในสังคมต่างๆ มาเพื่อจะบอกว่า "ทหาร" ตามที่เราเข้าใจปัจจุบันเป็นสิ่งใหม่มาก เป็น "อาชีพ" ที่เกิดขึ้นในเงื่อนไขของโลกสมัยใหม่ นั่นคือเมื่อรัฐไม่ได้เป็นสมบัติส่วนตัวของพระราชาแล้ว แต่เป็นสมบัติร่วมกันของพลเมืองทุกคน หน้าที่ป้องกันบ้านเมืองจึงกลายเป็นของทุกคน

ในยุโรป ความคิดแบบนี้เกิดแก่ชาวฝรั่งเศสขึ้นก่อนหลังปฏิวัติฝรั่งเศส และด้วยเหตุดังนั้นกองทัพฝรั่งเศส จึงสามารถป้องกันประเทศจากการรุมยำของมหาอำนาจยุโรปสมัยนั้น (ออสเตรีย, ปรัสเซีย, อังกฤษ) ได้สำเร็จ เพราะมหาอำนาจเหล่านั้นล้วนยังใช้กองทัพนักรบและไพร่พลสังกัดมูลนายมารบกับกองทัพฝรั่งเศส ซึ่งกลายเป็นกองทัพของอาสาสมัครพลเมือง ซึ่งไม่คิดจะรบให้ใครนอกจากให้แก่ "ชาติ" ซึ่งมีตนเองเป็นส่วนหนึ่งในชาติ ปลดปล่อยฝรั่งเศสจากศัตรู คือปลดปล่อยตนเองจากพันธนาการของระบบศักดินา

ความเป็นชาติทำให้เกิดกองทัพประจำการขึ้นอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากกองทัพประจำการที่เคยมีมาก่อนทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นกองทัพซึ่งมีไว้รักษาพระองค์, หรือราชวงศ์, หรือตระกูลเจ้าเมือง, หรือเจ้าครองแคว้น และไม่เหมือนกองทัพรับจ้างซึ่งนายทุนใหญ่ๆ มักสร้างขึ้นมาเพื่อประโยชน์ในการหากำไรทางการค้าของตนเอง เช่นกองทัพของบริษัทอินเดียตะวันออกทั้งของวิลันดาและอังกฤษ มีคนหลายชนชาติรับจ้างรบให้กับบริษัทของทั้งวิลันดาและอังกฤษ

กองทัพแห่งชาติเป็นกองกำลังประจำการ คือไม่ได้มีอยู่ตอนจะรบกับใคร แต่มีประจำการอยู่ตลอดเวลา อย่างน้อยก็ต้องรักษาแกนกลางของกองทัพเอาไว้ คือกลุ่มนายทหารซึ่งร่ำเรียนมาในการทำสงครามและทำการรบ ส่วนพลทหารก็ค่อยๆ เปลี่ยนจากการอาสาสมัครไปสู่การเรียกเกณฑ์ ด้วยอำนาจของรัฐชาติ ทำให้เรียกเกณฑ์ได้จำนวนมาก เพราะรัฐชาติรวบรวมภาษีไว้ได้มากกว่าที่เจ้านายสมัยก่อนจะสามารถเรียกได้ จึงมีกำลังทางเศรษฐกิจที่จะเลี้ยงดูกองทัพที่มีกำลังพลจำนวนมาก พร้อมทั้งฝึกปรือทักษะขั้นพื้นฐานในการรบให้แก่ทหารเกณฑ์ได้หมด

ในหลายรัฐทั่วโลก ส่วนใหญ่แล้วไม่เคยมีกองทัพประจำการมาก่อน นอกจากกองกำลังเล็กๆ ที่มีไว้รักษาความปลอดภัยให้เจ้านาย เช่นเมืองไทยนั้นไม่เคยมีทั้งกองทัพประจำการจนถึง ร.5 และเช่นเดียวกับเมืองไทย เมื่อรัฐต่างๆ เริ่มเปลี่ยนหรือถูกบังคับให้เปลี่ยนมาเป็นรัฐชาติ (รัฐชาติจริงหรือจำแลงก็ตาม) ก็เกิดกองทัพประจำการของชาติขึ้นทั่วไป

ที่เรียกว่า "ทหาร" ในความหมายปัจจุบัน คือคนที่ทำงานอยู่ในกองทัพประจำการ เป็นอาชีพใหม่มากจนกระทั่งจะถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" จึงเป็นปรกติธรรมดามากๆ

ที่สงครามในโลกสมัยใหม่มักรุนแรงและเกิดความเสียหายมาก ไม่ได้มาจากอาวุธยุทธภัณฑ์ซึ่งมีกำลังทำลายล้างสูงเพียงอย่างเดียว แต่เพราะกองทัพแห่งชาติที่เข้าสัประยุทธ์กันนั้น เป็นกองทัพขนาดใหญ่กว่าที่พระราชาหรือบริษัทค้าขายจะสามารถระดมมาได้ด้วย

เมื่อรัฐชาติมีกองทัพประจำการขึ้นมาเป็นส่วนหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของความเป็นรัฐชาติ เพราะกองทัพเป็นเครื่องมือให้รัฐผูกขาดความรุนแรงได้เด็ดขาดที่สุด แต่ปัญหาที่ตามมาทันทีก็คือ แล้วกองทัพประจำการนั้นอยู่ในความบังคับบัญชาของใครกันเล่า โดยทฤษฎีแล้วกองทัพต้องอยู่ภายใต้การบังคับควบคุมของผู้บริหารรัฐ เพราะกองทัพเป็นกลไกรัฐอย่างหนึ่ง

แต่ในทางปฏิบัติแล้ว ในรัฐชาติซึ่งเกิดขึ้นโดยยังไม่มีอำนาจอื่นพัฒนาขึ้นมาให้สูงเด่นเป็นที่ยอมรับทั่วไป เช่น รัฐสภา, พรรคการเมืองผูกขาด (เช่น พรรคคอมมิวนิสต์ พรรคอุมโน หรือพรรคกิจประชา), หรือองค์กรศาสนา ฯลฯ กองทัพมักเป็นอิสระเหมือนเป็นรัฐซ้อนรัฐ (และมักจะซ้อนข้างบน) แสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ, เกียรติยศ, อำนาจทางการเมือง ฯลฯ ให้แก่องค์กรของตนเอง หรือผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นนายทหารระดับสูง วิธีจะทำอย่างนั้นมักใช้อำนาจดิบที่มีในมือข่มขู่ให้อำนาจอื่นๆ ต้องยอมตามคำเรียกร้อง หรือมิฉะนั้นก็ร่วมมือกับบุคคลบางคนที่พอมีฐานคะแนนนิยมในสังคมอยู่บ้าง แลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน เช่น อดีตประธานาธิบดีมาร์กอสแห่งฟิลิปปินส์ หรือซูฮาร์โตแห่งอินโดนีเซีย กองทัพได้ค่าต๋งจากงบประมาณและการเรียกเก็บนอกกฎหมาย รวมทั้งตำแหน่งฝ่ายพลเรือนทั้งในรัฐวิสาหกิจและผู้ว่าราชการจังหวัด ในขณะที่ผู้มีฐานคะแนนนิยมอยู่ในสังคมได้อำนาจเด็ดขาดทางการเมือง จะใช้อำนาจนี้ไปทำอะไรต่อก็แล้วแต่บุคคล

ในแง่นี้ กองทัพในหลายรัฐชาติ จึงขัดขวางพัฒนาการสองอย่างของรัฐชาติ หนึ่งคือขัดขวางพัฒนาการของประชาธิปไตย และสองคือขัดขวางแม้แต่พัฒนาการของความเป็นชาติในรัฐนั้น เพราะบทบาทของกองทัพทำให้พลเมืองทั่วไปมองไม่เห็นว่าชาติเป็นสมบัติร่วมกันของทุกคนโดยเสมอภาค ตราบเท่าที่แม้แต่สำนึกพื้นฐานของชาติเพียงเท่านี้ยังไม่เกิดแก่พลเมืองทั่วไป ตราบนั้นก็ไม่มีทางจะเกิด "ชาติ" ที่แท้จริงขึ้นได้ ไม่ว่ากองทัพจะเน้นย้ำความรักชาติสักเพียงใดก็ตาม

ปัญหาที่ตามมาอีกอย่างหนึ่งคือ การรักษาอธิปไตยของรัฐชาติ อันที่จริงเป็นหน้าที่ซึ่งทำกันหลายฝ่าย แต่หากโชคร้ายที่ถึงที่สุดแล้วต้องมาลงเอยที่สงคราม กองทัพจะมีหน้าที่สำคัญสุด แต่สงครามเป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงแก่ทุกฝ่าย แม้แต่ฝ่ายที่ชนะ จึงมีความพยายามจะสร้างกลไกไว้นานาชนิด เพื่อทำให้ความขัดแย้งระหว่างรัฐไม่พัฒนาไปจนถึงจุดที่ต้องทำสงครามระหว่างกัน แต่จะพูดว่ากลไกระหว่างประเทศเหล่านี้ไม่ประสบความสำเร็จก็ได้ เช่น สนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Westphalia) ซึ่งกำหนดให้รัฐไม่ว่าใหญ่หรือเล็กในยุโรปตะวันตกมีอธิปไตยเท่าเทียมกันหมด ตามมาด้วยการสร้างดุลอำนาจระหว่างรัฐใหญ่ต่างๆ เพื่อทำให้สงครามเกิดขึ้นได้ยาก แต่แล้วยุโรปตะวันตกก็เกิดสงครามขึ้นจนได้ ซ้ำเป็นสงครามร้ายแรงด้วย เพราะยกเอาพันธมิตรในดุลอำนาจฝ่ายตนเข้าราวีห้ำหั่นกัน

ทั้งนี้ ยังไม่พูดถึงสงครามแย่งผลประโยชน์กันนอกยุโรปตะวันตก เช่นในแอฟริกาและเอเชีย ซึ่งไม่ถูกถือตามสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียว่าทุกรัฐมีอธิปไตยเท่ากัน

มองด้านล้มเหลวก็ล้มเหลว แต่มองด้านสำเร็จก็สำเร็จมากเหมือนกัน จากสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลียมาถึงปัจจุบัน กลไกระหว่างประเทศดังกล่าวถูกพัฒนาไปอย่างมาก นอกจากองค์กรโลกเช่นสหประชาชาติแล้ว ยังมีการรวมกลุ่มในภูมิภาคต่างๆ เช่น สหภาพยุโรป, อาเซียน และกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอเมริกาเหนือและกลาง โอกาสที่จะเกิดสงครามภายในกลุ่มเหล่านี้เหลือน้อยลงมาก ถึงยังมีสงครามกับประเทศนอกกลุ่ม แต่ก็อยู่ในวงจำกัดไม่ลามไปเป็นสงครามขนาดใหญ่

โลกภายใต้กลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและระงับสงครามดังที่เรามีอยู่ในปัจจุบัน ทำให้คำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามที่มีเหตุผล และควรต้องถามกันอย่างวิเคราะห์เจาะลึกทีเดียว อาจเป็นได้ว่ากองทัพประจำชาติคือกระดุมที่ติดอยู่ปลายแขนเสื้อนอก ซึ่งไม่ได้มีไว้กลัดกับอะไร แต่ต้องมีไว้เพราะเป็นธรรมเนียมที่เหลือตกค้างมาแต่อดีต

แม้แต่จะธำรงรักษากองทัพแห่งชาติไว้ ก็ต้องปรับเปลี่ยนการจัดองค์กร, ขนาด, เครื่องไม้เครื่องมือ, สายการบังคับบัญชา ฯลฯ กันใหม่หมด จึงจะเหมาะกับโลกปัจจุบันซึ่งมีกลไกระหว่างประเทศเพื่อป้องกันและป้องปรามการสงครามที่สลับซับซ้อนเช่นนี้

คําถาม "ทหารมีไว้ทำไม" เป็นคำถามสำคัญแห่งยุคสมัยอย่างที่แทบจะหาคำถามอื่นเทียบไม่ได้ และเราต้องไม่ลืมว่า กองทัพแห่งชาติบวกกับธุรกิจค้าอาวุธและยุทธบริการแก่ทหาร ทำให้กองทัพไม่ว่าของชาติใดทั้งสิ้นเป็นองค์กรรัฐที่สิ้นเปลืองอย่างมาก จนบางครั้งแทบทำให้รัฐพิการลงไปเพราะหมดสมรรถนะที่จะดูแลพลเมืองของตนเอง

ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถทำให้ทุกคนเข้านอนได้ด้วยท้องที่อิ่ม ไม่มีกองทัพ จะมีเงินเหลือมาปรับปรุงระบบสุขภาพถ้วนหน้าได้มากกว่านี้อีก และในทุกประเทศทั่วโลก ไม่มีกองทัพ เด็กและผู้ใหญ่ทุกคนที่อยากเรียนรู้ จะได้เรียนรู้ ไม่มีกองทัพ โลกทั้งโลกจะสามารถบรรลุเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกได้ก่อนเวลาที่ตกลงกันเป็นหลายสิบปี ไม่มีกองทัพ เราจะสามารถขจัดโรคติดต่อร้ายแรงให้หมดไปจากโลกโดยสิ้นเชิงได้ ไม่มีกองทัพ ทั้งโลกจะยิ่งพัฒนากลไกระหว่างประเทศเพื่อระงับสงครามให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ไม่มีกองทัพ… จะมีโลกใหม่ที่ชีวิตผู้คนอาจดำเนินไปอย่างสงบสุขและสร้างสรรค์กว่าที่เราเผชิญมา

เรามาช่วยกันตั้งคำถามว่า "ทหารมีไว้ทำไม" ให้ติดปากทุกคน และช่วยกันหาคำตอบต่อคำถามนี้อย่างเอาจริงเอาจัง โดยไม่ยอมให้ใครสถาปนาแนวคำตอบของตนขึ้นครอบงำคนอื่น

"แง่มุมทางกฎหมายของการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตย"

*+ วัดพระธรรมกายในทัศนะของนักข่าวผู้ไปเจาะลึก!

*+ วัดพระธรรมกายในทัศนะของนักข่าวผู้ไปเจาะลึก! (และไม่ประสงค์ออกนาม) พร้อมข้อมูลพื้นฐานสำหรับนักวิจารณ์มือใหม่+* ตอนที่ 2. รู้ลึก รู้จริง ขำด้วย

 เรื่องเล็กๆน้อยๆเอาไว้ก่อน มาถึงตอนนี้ผู้คนสงสัยว่า โอเค วัดนี้ด้านดีๆก็มีบ้าง แต่ทำไมถึงไม่เป็นข่าว นี่จะบอกให้ ดูหน้า1หนังสือพิมพ์สิ ลงข่าวดี ลงข่าวโลกสวยซะที่ไหน มันไม่มีองค์ประกอบของข่าว หรือคุณค่าความเป็นข่าวไงครับ เช่น ต้องเป็นบุคคลสำคัญ ความแปลกประหลาด การค้นพบวิทยาการอะไรใหม่ๆ เรื่องที่มีความใกล้ชิดกับเราหรือมีผลกระทบกับเรา เป็นต้น กิจกรรมประเภท CSR หรือ PR หน่วยงานต่างๆส่วนใหญ่จะเสียตังค์ซื้อพื้นที่สื่อเอง ส่วนข่าวดราม่าๆตามกระแสสังคม โดยเฉพาะคนกรุงฯและชาวโซเชี่ยล แบบนี้แหละ สำนักข่าวชอบ

เหมือนดาราสักคน บางคนอาจจะดี แต่ภาพลักษณ์ผ่านสื่ออาจดูเลว ส่วนบางคนเลว แต่สร้างภาพผ่านสื่อว่าดี มันขึ้นอยู่กับตัวเราแล้วแหละ ว่าจะมีวิจารณญาณขนาดไหน

โดยเฉพาะล่า สุด ธุดงค์ธรรมชัย ของวัดนี้แน่นอนว่าสำนักข่าวต่างๆจ้องเล่นข่าวอยู่แล้ว ตามหลักทฤษฎี เข้าหลายข้อเลยแหละ และยิ่งบอกว่าทำให้รถติดด้วยนะ ยิ่งแจ่มเลย ขนาดฝนตกแล้วรถติดยังด่าฝนเลยจ้าาา ฉะนั้น ชาววัดพระธรรมกายอย่าน้อยใจ นี่คือโลกของความเป็นจริง ท่องเอาไว้เลยว่า "ข่าวร้ายลงฟรี ข่าวดีเสียตังค์" 

แม้ว่าคุณจะแถลงข่าวเปิดตัวโครงการ ประชาสัมพันธ์ล่วงหน้า ยกหลักพระไตรปิฎกมาบอกว่าเป็นการธุดงค์ตามพระธรรมวินัยทุกประการก็ตาม เดินบนไหล่ทาง ก็จะโดนด่า คนเขาไม่สนใจว่าคุณเดินตามเส้นทางวัดสำคัญๆที่หลวงปู่สด วัดปากน้ำเคยผ่าน เขาก็จะไล่คุณไปเดินเข้าป่านู่น แม้วัดคุณจะมีโครงการเดินธุดงค์ธรรมชัยพัฒนาวัดร้างให้เป็นวัดรุ่ง เดินตามชนบทมาทั่วประเทศแล้วก็ตาม เขาก็ยังจะไล่คุณไปเดินแถว 3-4 จังหวัดภาคใต้ ซึ่งแม้ว่าทางวัดคุณจะมีกิจกรรมถวายสังฆทานยก4จังหวัดทุกเดือนที่ใต้ก็ตาม ต้องทำใจ พฤติกรรมการเสพสื่อสมัยใหม่เป็นไปตามกระแสเช่นนี้ จึงต้องรู้ให้เท่าทัน และต้องให้ถูกจริตคนกรุง+เด็กเกรียนคีย์บอร์ดทั้งหลาย

อีก ประเด็นยอดฮิต หลายคนบอกว่า วัดพระธรรมกายรวยก็รวย ทำไมไม่ให้ทุนการศึกษา ที่จริงมีเยอะครับ เยอะมาก เช่นโครงการวีสตาร์ แว่วๆว่าแต่ละปีวัดทุ่มให้กับทุนการศึกษานักเรียนกว่าร้อยล้าน บริจาคโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เปิดคลีนิครักษาฟรี ยังไม่รวมงานสังคมสงเคราะห์ของลูกศิษย์ตัวบิ๊กๆ..แน่นอน ไม่เป็นข่าว

เพราะ อะไร ส่วนหนึ่งอาจมาจาก เหมือนสำนักข่าวก็ไม่อยากpr ให้วัดนั่นแหละ กลัวถูกครหาว่าเป็นสาวก เพราะขนาดลูกศิษย์ลูกหาแท้ๆ ยังไม่กล้าเปิดเผยตัวต่อสาธารณะ ทั้งๆที่มีอยู่ทุกวงการ กลัวถูกสังคมรังเกียจ ข่าวว่าแต่ละวันแต่ละเดือน ก็จะคอยภาวนาว่า "วัดชั้นจะถูกพันทิบกับสำนักข่าวขุดขึ้นมาด่าอีกไหมหนอ" ชนชายขอบเหล่านี้ ยอมรับว่าน่าเห็นใจ ก็กลัวๆอยู่ว่าวันดีคืนดีเค้าจะลุกขึ้นมาเอามีดปาดคอหรือทำระเบิดพลีชีพใส่ พวกด่าวัดพระธรรมกาย อย่างกลุ่มไอเอสรึเปล่า แต่ทางวัดก็คงไม่สอนแบบนี้หรอก สบายใจได้

อีกอันเรื่องการบริจาค วัดนี้ จากการวิจัย ไม่ได้เน้นเรื่องทำทานนะครับ เน้น "ภาวนา" หรือนั่งสมาธิเป็นหลัก ใครเคยไปจะรู้ว่านั่งจนตาตุ่มด้าน นั่งจนจะไปนิพพาน จะไปที่สุดแห่งธรรม นี่คือแก่นคำสอนของวัดเลย เราต้องเข้าใจใหม่เวลาจะวิจารณ์เค้า ไม่ใช่อยู่ก็เปิดหน้าว่า "สอนผิดๆสอนทำบุญเยอะๆ" แค่นี้ก็พูดกันคนละภาษาแล้ว ผมเชื่อว่าคนวัดพระธรรมกายคุยได้ แม้บางครั้งเราจะไม่เข้าใจ เพราะอุดมการณ์สูงสุดในชีวิตแต่ละคนไม่เหมือนกัน การให้ค่าต่อสิ่งหนึ่งๆจึงไม่เหมือนกัน เราอย่าเพิ่งเอามาตรฐานตัวเราไปเปรียบเทียบ ขอเตือน เดี๋ยวเงิบ

ส่วน เรื่องศีล ชาววัดพระธรรมกาย ถือศีล5 เป็นปกติ เพื่อนผมที่เป็นชาววัดบางคนถือศีล8เลยจ้า ถ้าใครมีเพื่อนเข้าวัดนี้ สังเกตง่ายๆว่าจะไม่ดื่มเหล้าสูบุหรี่ วันอาทิตย์ก็เข้าวัดตลอด ไม่รู้ว่าล้างสมองกันยังไง

กลับมาเรื่องบริจาค มีทั้งคนทำน้อยทำมาก ไม่บังคับ และที่สำคัญ อันนี้ขีดเส้นใต้8ล้านที "วัดนี้ไม่เคยสอนว่าต้องทำบุญมากๆถึงจะได้บุญมาก" และไม่เคยสอนว่าเอาเงินซื้อสวรรค์ซื้อนิพพานได้ วัดสอนตามหลักพุทธทุกอย่าง คือ บุญกริยาวัตถุ10 เรื่องเชียร์ทำบุญกันก็เป็นกุศโลบายกำจัดความตระหนี่จากใจ สละโลภ อย่างบุคคลในสมัยพุทธกาล อันนี้ทางวัดจะย้ำ โดยเฉพาะดำเนินตามรอยนิสัยพระพุทธเจ้าตอนเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ ที่แบบว่า ยอมตายได้เพื่อสร้างบารมีทั้ง10ทัศ

เท่าที่สังเกต วัดนี้คนปฏิบัติธรรมอย่างจริงจัง มีเป้าหมายคือ "เข้าถึงวิชชาธรรมกาย" ไม่เชื่อถามดู ไม่ได้มาวัดเพื่อบริจาคแล้วหวังรวย พวกเราจำใส่หัวกันใหม่นะ อีกอย่าง ชาววัดนี้ ไม่ได้หวังอยู่แค่สวรรค์ แต่หวังนิพพาน และไกลกว่านิพพานเฉพาะตัวเอง คือใช้คำว่า "รื้อสัตว์ขนสัตว์เข้านิพพานให้หมด" ด้วยการชวนคนทั้งโลกมาปฏิบัติธรรม นั่งสมาธิให้เข้าถึงวิชชาธรรมกาย เท่ากับการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาชั้นเบื้องต้น จนลุ่มลึกเข้าไป

สรุป ง่ายๆคือ หมู่คณะวัดพระธรรมกาย ปฏิญาณตนสั่งสมบารมีไปเรื่อยๆ เติมเต็มไปทุกชาติ จนกว่าจะเข้านิพพาน เมื่อรู้ว่าระหว่างภพชาติที่ยังไปไม่ถึงก็สร้างบุญเป็นเสบียงให้เกิดมามี พร้อม อันนี้คือความคิดของคนวัดนี้ ก็น่าคิดเล่นๆนะว่า มิน่าล่ะถึงมีแต่เศรษฐี



บทความย๊าว ยาวต่อตอนที่ 3 นะค่ะ ย่ิงอ่านยิ่งสนุก 

cr.นักข่าวผู้มาเจาะลึก และไม่ประสงค์ออกนาม

#พระพุทธศาสนา #ธรรมกาย #วัดพระธรรมกาย #dhammakaya

*+ วัดพระธรรมกายในทัศนะของนักข่าวผู้ไปเจาะลึก!

*+ วัดพระธรรมกายในทัศนะของนักข่าวผู้ไปเจาะลึก! (และไม่ประสงค์ออกนาม) พร้อมข้อมูลพื้นฐานสำหรับนักวิจารณ์มือใหม่+* ตอนที่ 2. รู้ลึก รู้จริง ขำด้วย

 เรื่องเล็กๆน้อยๆเอาไว้ก่อน มาถึงตอนนี้ผู้คนสงสัยว่า โอเค วัดนี้ด้านดีๆก็มีบ้าง แต่ทำไมถึงไม่เป็นข่าว นี่จะบอกให้ ดูหน้า1หนังสือพิมพ์สิ ลงข่าวดี ลงข่าวโลกสวยซะที่ไหน มันไม่มีองค์ประกอบของข่าว หรือคุณค่าความเป็นข่าวไงครับ เช่น ต้องเป็นบุคคลสำคัญ ความแปลกประหลาด การค้นพบวิทยาการอะไรใหม่ๆ เรื่องที่มีความใกล้ชิดกับเราหรือมีผลกระทบกับเรา เป็นต้น กิจกรรมประเภท CSR หรือ PR หน่วยงานต่างๆส่วนใหญ่จะเสียตังค์ซื้อพื้นที่สื่อเอง ส่วนข่าวดราม่าๆตามกระแสสังคม โดยเฉพาะคนกรุงฯและชาวโซเชี่ยล แบบนี้แหละ สำนักข่าวชอบ

เหมือนดาราสักคน บางคนอาจจะดี แต่ภาพลักษณ์ผ่านสื่ออาจดูเลว ส่วนบางคนเลว แต่สร้างภาพผ่านสื่อว่าดี มันขึ้นอยู่กับตัวเราแล้วแหละ ว่าจะมีวิจารณญาณขนาดไหน

โดยเฉพาะล่า สุด ธุดงค์ธรรมชัย ของวัดนี้แน่นอนว่าสำนักข่าวต่างๆจ้องเล่นข่าวอยู่แล้ว ตามหลักทฤษฎี เข้าหลายข้อเลยแหละ และยิ่งบอกว่าทำให้รถติดด้วยนะ ยิ่งแจ่มเลย ขนาดฝนตกแล้วรถติดยังด่าฝนเลยจ้าาา ฉะนั้น ชาววัดพระธรรมกายอย่าน้อยใจ นี่คือโลกของความเป็นจริง ท่องเอาไว้เลยว่า "ข่าวร้ายลงฟรี ข่าวดีเสียตังค์" 

แม้ว่าคุณจะแถลงข่าวเปิดตัวโครงการ ประชาสัมพันธ์ล่วงหน้า ยกหลักพระไตรปิฎกมาบอกว่าเป็นการธุดงค์ตามพระธรรมวินัยทุกประการก็ตาม เดินบนไหล่ทาง ก็จะโดนด่า คนเขาไม่สนใจว่าคุณเดินตามเส้นทางวัดสำคัญๆที่หลวงปู่สด วัดปากน้ำเคยผ่าน เขาก็จะไล่คุณไปเดินเข้าป่านู่น แม้วัดคุณจะมีโครงการเดินธุดงค์ธรรมชัยพัฒนาวัดร้างให้เป็นวัดรุ่ง เดินตามชนบทมาทั่วประเทศแล้วก็ตาม เขาก็ยังจะไล่คุณไปเดินแถว 3-4 จังหวัดภาคใต้ ซึ่งแม้ว่าทางวัดคุณจะมีกิจกรรมถวายสังฆทานยก4จังหวัดทุกเดือนที่ใต้ก็ตาม ต้องทำใจ พฤติกรรมการเสพสื่อสมัยใหม่เป็นไปตามกระแสเช่นนี้ จึงต้องรู้ให้เท่าทัน และต้องให้ถูกจริตคนกรุง+เด็กเกรียนคีย์บอร์ดทั้งหลาย

อีก ประเด็นยอดฮิต หลายคนบอกว่า วัดพระธรรมกายรวยก็รวย ทำไมไม่ให้ทุนการศึกษา ที่จริงมีเยอะครับ เยอะมาก เช่นโครงการวีสตาร์ แว่วๆว่าแต่ละปีวัดทุ่มให้กับทุนการศึกษานักเรียนกว่าร้อยล้าน บริจาคโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เปิดคลีนิครักษาฟรี ยังไม่รวมงานสังคมสงเคราะห์ของลูกศิษย์ตัวบิ๊กๆ..แน่นอน ไม่เป็นข่าว

เพราะ อะไร ส่วนหนึ่งอาจมาจาก เหมือนสำนักข่าวก็ไม่อยากpr ให้วัดนั่นแหละ กลัวถูกครหาว่าเป็นสาวก เพราะขนาดลูกศิษย์ลูกหาแท้ๆ ยังไม่กล้าเปิดเผยตัวต่อสาธารณะ ทั้งๆที่มีอยู่ทุกวงการ กลัวถูกสังคมรังเกียจ ข่าวว่าแต่ละวันแต่ละเดือน ก็จะคอยภาวนาว่า "วัดชั้นจะถูกพันทิบกับสำนักข่าวขุดขึ้นมาด่าอีกไหมหนอ" ชนชายขอบเหล่านี้ ยอมรับว่าน่าเห็นใจ ก็กลัวๆอยู่ว่าวันดีคืนดีเค้าจะลุกขึ้นมาเอามีดปาดคอหรือทำระเบิดพลีชีพใส่ พวกด่าวัดพระธรรมกาย อย่างกลุ่มไอเอสรึเปล่า แต่ทางวัดก็คงไม่สอนแบบนี้หรอก สบายใจได้

อีกอันเรื่องการบริจาค วัดนี้ จากการวิจัย ไม่ได้เน้นเรื่องทำทานนะครับ เน้น "ภาวนา" หรือนั่งสมาธิเป็นหลัก ใครเคยไปจะรู้ว่านั่งจนตาตุ่มด้าน นั่งจนจะไปนิพพาน จะไปที่สุดแห่งธรรม นี่คือแก่นคำสอนของวัดเลย เราต้องเข้าใจใหม่เวลาจะวิจารณ์เค้า ไม่ใช่อยู่ก็เปิดหน้าว่า "สอนผิดๆสอนทำบุญเยอะๆ" แค่นี้ก็พูดกันคนละภาษาแล้ว ผมเชื่อว่าคนวัดพระธรรมกายคุยได้ แม้บางครั้งเราจะไม่เข้าใจ เพราะอุดมการณ์สูงสุดในชีวิตแต่ละคนไม่เหมือนกัน การให้ค่าต่อสิ่งหนึ่งๆจึงไม่เหมือนกัน เราอย่าเพิ่งเอามาตรฐานตัวเราไปเปรียบเทียบ ขอเตือน เดี๋ยวเงิบ

ส่วน เรื่องศีล ชาววัดพระธรรมกาย ถือศีล5 เป็นปกติ เพื่อนผมที่เป็นชาววัดบางคนถือศีล8เลยจ้า ถ้าใครมีเพื่อนเข้าวัดนี้ สังเกตง่ายๆว่าจะไม่ดื่มเหล้าสูบุหรี่ วันอาทิตย์ก็เข้าวัดตลอด ไม่รู้ว่าล้างสมองกันยังไง

กลับมาเรื่องบริจาค มีทั้งคนทำน้อยทำมาก ไม่บังคับ และที่สำคัญ อันนี้ขีดเส้นใต้8ล้านที "วัดนี้ไม่เคยสอนว่าต้องทำบุญมากๆถึงจะได้บุญมาก" และไม่เคยสอนว่าเอาเงินซื้อสวรรค์ซื้อนิพพานได้ วัดสอนตามหลักพุทธทุกอย่าง คือ บุญกริยาวัตถุ10 เรื่องเชียร์ทำบุญกันก็เป็นกุศโลบายกำจัดความตระหนี่จากใจ สละโลภ อย่างบุคคลในสมัยพุทธกาล อันนี้ทางวัดจะย้ำ โดยเฉพาะดำเนินตามรอยนิสัยพระพุทธเจ้าตอนเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ ที่แบบว่า ยอมตายได้เพื่อสร้างบารมีทั้ง10ทัศ

เท่าที่สังเกต วัดนี้คนปฏิบัติธรรมอย่างจริงจัง มีเป้าหมายคือ "เข้าถึงวิชชาธรรมกาย" ไม่เชื่อถามดู ไม่ได้มาวัดเพื่อบริจาคแล้วหวังรวย พวกเราจำใส่หัวกันใหม่นะ อีกอย่าง ชาววัดนี้ ไม่ได้หวังอยู่แค่สวรรค์ แต่หวังนิพพาน และไกลกว่านิพพานเฉพาะตัวเอง คือใช้คำว่า "รื้อสัตว์ขนสัตว์เข้านิพพานให้หมด" ด้วยการชวนคนทั้งโลกมาปฏิบัติธรรม นั่งสมาธิให้เข้าถึงวิชชาธรรมกาย เท่ากับการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาชั้นเบื้องต้น จนลุ่มลึกเข้าไป

สรุป ง่ายๆคือ หมู่คณะวัดพระธรรมกาย ปฏิญาณตนสั่งสมบารมีไปเรื่อยๆ เติมเต็มไปทุกชาติ จนกว่าจะเข้านิพพาน เมื่อรู้ว่าระหว่างภพชาติที่ยังไปไม่ถึงก็สร้างบุญเป็นเสบียงให้เกิดมามี พร้อม อันนี้คือความคิดของคนวัดนี้ ก็น่าคิดเล่นๆนะว่า มิน่าล่ะถึงมีแต่เศรษฐี



บทความย๊าว ยาวต่อตอนที่ 3 นะค่ะ ย่ิงอ่านยิ่งสนุก 

cr.นักข่าวผู้มาเจาะลึก และไม่ประสงค์ออกนาม

#พระพุทธศาสนา #ธรรมกาย #วัดพระธรรมกาย #dhammakaya