PPD's Official Website

Tuesday, March 8, 2016

International Women's Day Doodle 2016: #OneDayIWill



Download

การต่อต้าน ดร. ทักษิณ ที่นิวยอร์ค ไม่ใช่แค่คนไทยแอลเอที่หน่อมแน้ม แต่เป็นการบงการจากเครือข่ายภูมิพล....

การต่อต้าน ดร. ทักษิณ ที่นิวยอร์ค ไม่ใช่แค่คนไทยแอลเอที่หน่อมแน้ม  แต่เป็นการบงการจากเครือข่ายภูมิพล....

ไปดูการลงทุนต่อต้าน.... นี่ไม่ใช่ชาวบ้านหรือเจ้าของร้านอาหารทำหรอกครับ


หาก ดร. ทักษิณ คิดจะสู้แบบเดิม ๆ ไม่วิเคราะห์แนวรบต่าง ๆ อย่างละเอียด และไม่ดำเนินการอย่างจริงจังให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ทำลายล้างโดยไม่หวังปรองดองของเครือข่ายเจ้าไทย  ผลจะเป็นอย่างไร  ใช้ตรรกะแบบดิบ ๆ ก็คงจะได้คำตอบดิบ ๆ ที่ตระกูลชินวัตร กลืนไม่คล่องคอแน่...

ดนตรีและความรัก คือภาษาสากล ที่มวลมนุษยชาติควรเฉลิมฉลองร่วมกัน

Music and love are the only truly international languages, and you'll love watching Korean musician Jun-Hyuk Choi politely ask if he can join a group of street musicians in Florence, Italy and play their huge contrabass. (The regular bass player, who kindly let him step in, is on the left in the blue jacket.) Without much more than snapping out the time he wants to play, the impromptu trio launch into the jazz standard "Autumn Leaves." Towards the very end, the video gets a little shaky as even the person filming starts tapping their foot.

ดนตรีและความรัก คือภาษาสากล ที่มวลมนุษยชาติควรเฉลิมฉลองร่วมกัน

Music and love are the only truly international languages, and you'll love watching Korean musician Jun-Hyuk Choi politely ask if he can join a group of street musicians in Florence, Italy and play their huge contrabass. (The regular bass player, who kindly let him step in, is on the left in the blue jacket.) Without much more than snapping out the time he wants to play, the impromptu trio launch into the jazz standard "Autumn Leaves." Towards the very end, the video gets a little shaky as even the person filming starts tapping their foot.

การต่อต้าน ดร. ทักษิณ ที่นิวยอร์ค ไม่ใช่แค่คนไทยแอลเอที่หน่อมแน้ม แต่เป็นการบงการจากเครือข่ายภูมิพล....

การต่อต้าน ดร. ทักษิณ ที่นิวยอร์ค ไม่ใช่แค่คนไทยแอลเอที่หน่อมแน้ม  แต่เป็นการบงการจากเครือข่ายภูมิพล....

ไปดูการลงทุนต่อต้าน.... นี่ไม่ใช่ชาวบ้านหรือเจ้าของร้านอาหารทำหรอกครับ


หาก ดร. ทักษิณ คิดจะสู้แบบเดิม ๆ ไม่วิเคราะห์แนวรบต่าง ๆ อย่างละเอียด และไม่ดำเนินการอย่างจริงจังให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ทำลายล้างโดยไม่หวังปรองดองของเครือข่ายเจ้าไทย  ผลจะเป็นอย่างไร  ใช้ตรรกะแบบดิบ ๆ ก็คงจะได้คำตอบดิบ ๆ ที่ตระกูลชินวัตร กลืนไม่คล่องคอแน่...

Monday, March 7, 2016

"วันสตรีสากลของโลก” กับ การย่ำยีนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทย

Thanaboon Chiranuvat

วันนี้ สหประชาชาติ สถาปนาให้เป็น "วันสตรีสากลของโลก"

ถามว่า ประเทศนี้ ได้ปฏิบัติอย่างไร? ต่อสตรี อันจะทำให้คำว่า "Women Harassment" หรือ คำว่า "การกดขี่ทางเพศ" สิ้นไป หรือยัง?
ดังปรากฏตามอยู่ตาม "ธรรมนูญโลก"


ที่มีชื่อย่อว่า "CEDAW" หรือ "Convention on the Elimination of All Forms against Women,1979" คนไทย ได้ปฏิบัติให้ ถึงพร้อม หรือ ยัง?

๑. สนธิสัญญา ที่เรียกว่า "Convention on the Elimination of All Forms against Women" นั้น เป็น สนธิสัญญา ที่มีชาติสมาชิกเป็น Member หรือ รัฐคู่ภาคีถึง 189 ชาติ หรือ รัฐ

๒. ซึ่งหมายความว่า มีรัฐ ที่ให้สัตยาบันรับรองถึง 189 ชาติ หรือ รัฐ ประเทศไทย เป็นหนึ่ง ในรัฐ ที่ได้ให้สัตยาบันรับรองต่อ สนธิสัญญานี้ด้วย ในวันที่ 9 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1985 (หกปีนับแต่ วันที่ประกาศใช้) ประเทศไทยของเรา เข้าให้สัตยาบัน โดยวิธี การประกาศขอเข้าร่วม ในสนธิสัญญา หรือ เรียกในภาษายี่เกว่า "ภาคยานุวรรต์)

๓. เมื่อเรา ไปประกาศขอเข้าร่วม ตามความของ สนธิสัญญา นั่นหมายความว่า "เรา ต้องการให้ใช้ สนธิสัญญาฉบับนี้ ให้เกิดผลบังคับ เป็นกฏหมายภายในของประเทศไทย โดยทันที"

๔. ต้องถาม เป็น เครื่องหมายคำถามโตๆ กำกับ ตรงนี้ว่า "แล้วเป็นจริงตาม บทที่เขียนกำกับ และ บังคับ ไว้ในสนธิสัญญา หรือไม่?" คำตอบ ที่ได้รับจากการถาม เป็น "คำตอบ ที่ปฏิเสธ" แบบสิ้นเชิง อย่างนี้แล้ว เราจะไปเฉลิมฉลองใน"สิทธิสตรี" กับ ชาวโลกเขาได้อย่างไร? คนไทย ทั้งประเทศ ควรต้องตอบ คำถามนี้ ในใจตนเอง ให้ กระจ่างชัด

๕. สนธิสัญญาฉบับนี้ มีผลบังคับกับ โลกทั้งใบในวันที่ ๓ กันยายน ปี ค.ศ. 1981 ประเทศที่ ยังไม่ยอมรับ สนธิสัญญาฉบับนี้เลย ก็คือ: The Holy See, Iran, Somalia, Sudan and Tonga (มีอยู่แค่ห้าชาติ ในประเทศทั้งหลายของโลก ที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้ทั้งหมด คือ 195 ชาติ)

๖. สนธิสัญญานี้ มีเค้าโครง ในการบังคับ ตามกฏหมายในสารสำคัญ เป็นแบบเดียวกันกับ สนธิสัญญา ขจัดการกดขี่ทางชาติพันธุ์ทุกรูปแบบ หรือ .the Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination, 1965 หรือ CERD มีผลบังคับทั่วไปในปี ค.ศ. 1969

๗. ข้อที่พึงระวัง เป็นอย่างยิ่ง ก็คือ บางครั้งที่คิดว่า สนธิสัญญา ที่เกี่ยวกับสตรี ข้างต้น ไม่ครอบคลุม แก่กรณี ที่จะวินิจฉัย กลับกลายเป็นว่า ต้องไปวินิจฉัยบังคับตาม CERD ที่มีข้อบัญญัติ ที่เคร่งครัดกว่า มากนัก


๘. อย่างนี้ แล้ว ก็จะยุ่งกันไปใหญ่ นักกฏหมายไทย มักมองปัญหาของ การบังคับใช้ ในรูปแบบ บัญญัติไตรยางค์ชั้นเดียว มองและ พิจารณาปัญหาไม่ขาด แบบไทยๆ

๙. สนธิสัญญาที่ว่าด้วย การขจัดความเหลื่อมล้ำทางเพศ ต่อสตรี ในทุกรูปแบบ ปี ค.ศ. 1979 หรือ CEDAW นี้ มีสาระสำคัญใหญ่ที่ใช้บัญญัติ บังคับ แบ่ง 4 ส่วนใหญ่ๆ คือ:

ส่วนที่ ๑ คือ บทบัญญัติที่ ๑ - บทบัญญัติที่ ๖ ว่าด้วย การไม่แบ่งแยกเพศ และการเลือกปฏิบัติ ที่ไม่เป็นธรรมต่อ สตรีเพศในทุกรูปแบบ

ส่วนที่ ๒ บทบัญญัติที่ ๗ - บทบัญญัติที่ ๙ เน้นสาระสำคัญ ของการบังคับใช้ ไปที่ สิทธิของสตรีในขอบเขต ที่เกี่ยวกับการดำเนินวิถีชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่อง สิทธิสตรีในทางการเมือง การแสดงออก และ สิทธิในการถือสัญชาติ ของสตรี

ส่วนที่ ๓. บทบัญญัติที่ ๑๐ - บทบัญญัติที่ ๑๔ เน้นสาระสำคัญ ในการบังคับใช้ไปที่สิทธิในทางเศรษฐกิจ และสังคมของ สตรี โดยเน้นเป็นพิเศษไปที่เรื่อง สิทธิในทางการศึกษา และ สิทธิสตรี ที่อยู่ในชนบท ต่อปัญหา ที่สตรีเผชิญอยู่ จะได้รับการพิจารณา เป็น พิเศษ

ส่วนที่ ๔ บทบัญญัติที่ ๑๕ - บทบัญญัติที่ ๑๖ เน้นสิทธิสตรี ที่ต้องได้รับ ความเท่าเทียมกันในสังคม ที่ตนอยู่ ในเรื่องการสมรส การครองตนอยู่ ในชีวิต และ ความเป็น ครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สตรี ต้องได้รับความคุ้มครองทางกฏหมาย อย่างเท่าเทียมกัน ในสังคม ตรงนี้ สนธิสัญญาฉบับนี้ ให้การเน้นการบังคับใช้ เป็น พิเศษ ในสิทธิของ ความเท่าเทียมกัน ตามบทบัญญัติของ กฏหมาย หรือ "Equality before Law"

๑๐. นี่คือสาระสำคัญที่ยิ่งใหญ่ ของ"สิทธิสตรี" ที่สตรีในประเทศไทย พึงต้องรู้ และ ให้การรับรู้ ว่า "ตนนั้น มีสิทธิ ในความเป็นสตรี ที่โลกได้มอบให้ แค่ไหน? และ เพียงใด?"


๑๑. การ กระทำ ที่สังคมไทย ที่เป็นอยู่ ในเวลานี้ ได้กระทำต่อ "อดีตนายกหญิงคนแรกของประเทศไทย" คือ "คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร" ไม่ว่า ท่านผู้อ่านทั้งหลาย จะชอบเธอ เป็น ส่วนตัว หรือ เป็นพิเศษ อย่างไร? หรือไม่? ก็ดี


๑๒. เรา จำเป็นต้องตัด อคติ อันเป็นส่วนตน ที่มีต่อ เธอออกไป และ พิจารณากรณีของ"เธอ" ในฐานะ ที่เธอเป็น "สตรี" เพศแม่ของ เรา ตามบทบัญญัติของ CEDAW นี่คือ ข้อต่อสู้ทางกฏหมาย ที่สตรีทุกผู้ ทุกนาม มีอยู่ อย่างเต็มเปี่ยมสมบูรณ์ ตามกฏหมายระหว่างประเทศ หรือ International Law หรือ อาจกล่าวได้ว่า มีอยู่ ในหลักนิติธรรม หรือ Rules of Law ของโลก

*กรณี ที่เกิดอยู่กับ "เธอผู้นี้"ในเวลานี้ จึงเป็น "the Harassment of Women's Liberty" โดยแน่ชัด และ กลายเป็น " the Gross violation of Human Rights" อย่างที่ มนุษย์สุดประเสริฐ ที่เจริญแล้ว ปฏิเสธ ไม่ได้ เป็นอย่างอื่น*

เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้.

"วันสตรีสากลของโลก” กับ การย่ำยีนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของไทย

Thanaboon Chiranuvat

วันนี้ สหประชาชาติ สถาปนาให้เป็น "วันสตรีสากลของโลก"

ถามว่า ประเทศนี้ ได้ปฏิบัติอย่างไร? ต่อสตรี อันจะทำให้คำว่า "Women Harassment" หรือ คำว่า "การกดขี่ทางเพศ" สิ้นไป หรือยัง?
ดังปรากฏตามอยู่ตาม "ธรรมนูญโลก"


ที่มีชื่อย่อว่า "CEDAW" หรือ "Convention on the Elimination of All Forms against Women,1979" คนไทย ได้ปฏิบัติให้ ถึงพร้อม หรือ ยัง?

๑. สนธิสัญญา ที่เรียกว่า "Convention on the Elimination of All Forms against Women" นั้น เป็น สนธิสัญญา ที่มีชาติสมาชิกเป็น Member หรือ รัฐคู่ภาคีถึง 189 ชาติ หรือ รัฐ

๒. ซึ่งหมายความว่า มีรัฐ ที่ให้สัตยาบันรับรองถึง 189 ชาติ หรือ รัฐ ประเทศไทย เป็นหนึ่ง ในรัฐ ที่ได้ให้สัตยาบันรับรองต่อ สนธิสัญญานี้ด้วย ในวันที่ 9 สิงหาคม ปี ค.ศ. 1985 (หกปีนับแต่ วันที่ประกาศใช้) ประเทศไทยของเรา เข้าให้สัตยาบัน โดยวิธี การประกาศขอเข้าร่วม ในสนธิสัญญา หรือ เรียกในภาษายี่เกว่า "ภาคยานุวรรต์)

๓. เมื่อเรา ไปประกาศขอเข้าร่วม ตามความของ สนธิสัญญา นั่นหมายความว่า "เรา ต้องการให้ใช้ สนธิสัญญาฉบับนี้ ให้เกิดผลบังคับ เป็นกฏหมายภายในของประเทศไทย โดยทันที"

๔. ต้องถาม เป็น เครื่องหมายคำถามโตๆ กำกับ ตรงนี้ว่า "แล้วเป็นจริงตาม บทที่เขียนกำกับ และ บังคับ ไว้ในสนธิสัญญา หรือไม่?" คำตอบ ที่ได้รับจากการถาม เป็น "คำตอบ ที่ปฏิเสธ" แบบสิ้นเชิง อย่างนี้แล้ว เราจะไปเฉลิมฉลองใน"สิทธิสตรี" กับ ชาวโลกเขาได้อย่างไร? คนไทย ทั้งประเทศ ควรต้องตอบ คำถามนี้ ในใจตนเอง ให้ กระจ่างชัด

๕. สนธิสัญญาฉบับนี้ มีผลบังคับกับ โลกทั้งใบในวันที่ ๓ กันยายน ปี ค.ศ. 1981 ประเทศที่ ยังไม่ยอมรับ สนธิสัญญาฉบับนี้เลย ก็คือ: The Holy See, Iran, Somalia, Sudan and Tonga (มีอยู่แค่ห้าชาติ ในประเทศทั้งหลายของโลก ที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้ทั้งหมด คือ 195 ชาติ)

๖. สนธิสัญญานี้ มีเค้าโครง ในการบังคับ ตามกฏหมายในสารสำคัญ เป็นแบบเดียวกันกับ สนธิสัญญา ขจัดการกดขี่ทางชาติพันธุ์ทุกรูปแบบ หรือ .the Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination, 1965 หรือ CERD มีผลบังคับทั่วไปในปี ค.ศ. 1969

๗. ข้อที่พึงระวัง เป็นอย่างยิ่ง ก็คือ บางครั้งที่คิดว่า สนธิสัญญา ที่เกี่ยวกับสตรี ข้างต้น ไม่ครอบคลุม แก่กรณี ที่จะวินิจฉัย กลับกลายเป็นว่า ต้องไปวินิจฉัยบังคับตาม CERD ที่มีข้อบัญญัติ ที่เคร่งครัดกว่า มากนัก


๘. อย่างนี้ แล้ว ก็จะยุ่งกันไปใหญ่ นักกฏหมายไทย มักมองปัญหาของ การบังคับใช้ ในรูปแบบ บัญญัติไตรยางค์ชั้นเดียว มองและ พิจารณาปัญหาไม่ขาด แบบไทยๆ

๙. สนธิสัญญาที่ว่าด้วย การขจัดความเหลื่อมล้ำทางเพศ ต่อสตรี ในทุกรูปแบบ ปี ค.ศ. 1979 หรือ CEDAW นี้ มีสาระสำคัญใหญ่ที่ใช้บัญญัติ บังคับ แบ่ง 4 ส่วนใหญ่ๆ คือ:

ส่วนที่ ๑ คือ บทบัญญัติที่ ๑ - บทบัญญัติที่ ๖ ว่าด้วย การไม่แบ่งแยกเพศ และการเลือกปฏิบัติ ที่ไม่เป็นธรรมต่อ สตรีเพศในทุกรูปแบบ

ส่วนที่ ๒ บทบัญญัติที่ ๗ - บทบัญญัติที่ ๙ เน้นสาระสำคัญ ของการบังคับใช้ ไปที่ สิทธิของสตรีในขอบเขต ที่เกี่ยวกับการดำเนินวิถีชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่อง สิทธิสตรีในทางการเมือง การแสดงออก และ สิทธิในการถือสัญชาติ ของสตรี

ส่วนที่ ๓. บทบัญญัติที่ ๑๐ - บทบัญญัติที่ ๑๔ เน้นสาระสำคัญ ในการบังคับใช้ไปที่สิทธิในทางเศรษฐกิจ และสังคมของ สตรี โดยเน้นเป็นพิเศษไปที่เรื่อง สิทธิในทางการศึกษา และ สิทธิสตรี ที่อยู่ในชนบท ต่อปัญหา ที่สตรีเผชิญอยู่ จะได้รับการพิจารณา เป็น พิเศษ

ส่วนที่ ๔ บทบัญญัติที่ ๑๕ - บทบัญญัติที่ ๑๖ เน้นสิทธิสตรี ที่ต้องได้รับ ความเท่าเทียมกันในสังคม ที่ตนอยู่ ในเรื่องการสมรส การครองตนอยู่ ในชีวิต และ ความเป็น ครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สตรี ต้องได้รับความคุ้มครองทางกฏหมาย อย่างเท่าเทียมกัน ในสังคม ตรงนี้ สนธิสัญญาฉบับนี้ ให้การเน้นการบังคับใช้ เป็น พิเศษ ในสิทธิของ ความเท่าเทียมกัน ตามบทบัญญัติของ กฏหมาย หรือ "Equality before Law"

๑๐. นี่คือสาระสำคัญที่ยิ่งใหญ่ ของ"สิทธิสตรี" ที่สตรีในประเทศไทย พึงต้องรู้ และ ให้การรับรู้ ว่า "ตนนั้น มีสิทธิ ในความเป็นสตรี ที่โลกได้มอบให้ แค่ไหน? และ เพียงใด?"


๑๑. การ กระทำ ที่สังคมไทย ที่เป็นอยู่ ในเวลานี้ ได้กระทำต่อ "อดีตนายกหญิงคนแรกของประเทศไทย" คือ "คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร" ไม่ว่า ท่านผู้อ่านทั้งหลาย จะชอบเธอ เป็น ส่วนตัว หรือ เป็นพิเศษ อย่างไร? หรือไม่? ก็ดี


๑๒. เรา จำเป็นต้องตัด อคติ อันเป็นส่วนตน ที่มีต่อ เธอออกไป และ พิจารณากรณีของ"เธอ" ในฐานะ ที่เธอเป็น "สตรี" เพศแม่ของ เรา ตามบทบัญญัติของ CEDAW นี่คือ ข้อต่อสู้ทางกฏหมาย ที่สตรีทุกผู้ ทุกนาม มีอยู่ อย่างเต็มเปี่ยมสมบูรณ์ ตามกฏหมายระหว่างประเทศ หรือ International Law หรือ อาจกล่าวได้ว่า มีอยู่ ในหลักนิติธรรม หรือ Rules of Law ของโลก

*กรณี ที่เกิดอยู่กับ "เธอผู้นี้"ในเวลานี้ จึงเป็น "the Harassment of Women's Liberty" โดยแน่ชัด และ กลายเป็น " the Gross violation of Human Rights" อย่างที่ มนุษย์สุดประเสริฐ ที่เจริญแล้ว ปฏิเสธ ไม่ได้ เป็นอย่างอื่น*

เอวัง ก็มีด้วยประการ ฉะนี้.