อดีตนายกรัฐมนตร
ี ดร.ทักษิณ ชินวัตร บรรยายที่นิวยอร
์ก ชี้เศรษฐกิจโลกศ
ตวรรษที่ 21 ต้องอาศัยการพึ่
งพากันในเครือข่
ายระดับนานาชาติ
เตือนไทยจะตกขบว
นเศรษฐกิจ หากรัฐธรรมนูญให
ม่ทำให้รัฐบาลเล
ือกตั้งถูกแทรกแ
ซง จนไม่สามารถสร้า
งความเชื่อมั่นด
้านสเถียรภาพการ
เมืองได้
ดร.ทักษิณ อดีตนายกรัฐมนตร
ี กล่าวในช่วงไฮไล
ต์ของการบรรยาย ที่งาน "สนทนาเป็นการส่
วนตัวกับทักษิณ ชินวัตร" (Thaksin Shinawatra in Private Discussion) ซึ่งจัดโดยสถาบั
นนโยบายโลก (World Policy Institute) ที่นครนิวยอร์ก ของสหรัฐฯ ว่า ร่างรัฐธรรมนูญฉ
บับล่าสุดของไทย
จะไม่สามารถวางโ
ครงสร้างพื้นฐาน
ในเชิงสถาบัน ที่จะส่งเสริมให
้มีการลงทุน การผลิต และความร่วมมือร
ะหว่างไทยกับต่า
งประเทศได้ เนื่องจากอาจเปิ
ดช่องให้มีการแท
รกแซงอำนาจฝ่ายบ
ริหาร และ นิติบัญญัติ โดยอำนาจพิเศษขอ
งวุฒิสภาที่มาจา
กการแต่งตั้ง และฝ่ายตุลาการ
"เมื่อพิจารณาถึ
งเค้าโครงของร่า
งรัฐธรรมนูญฉบับ
นี้ มันคงเป็นไปได้ย
ากที่จะได้มาซึ่
งรัฐบาลที่ตอบสน
องต่อความต้องกา
รของประชาชนและค
วามท้าทายในศตวร
ษที่ 21 ในร่างรัฐธรรมนู
ญฉบับใหม่นี้ ได้กำหนดให้วุฒิ
สภาประกอบด้วยสม
าชิกจำนวน 200 คนซึ่งจะถูกแต่ง
ตั้งโดย "ผู้เชี่ยวชาญ" วุฒิสภาจะมีอำนา
จมากยิ่งขึ้นในก
ารยับยั้งการออก
พระราชบัญญัติต่
างๆ ศาลรัฐธรรมนูญจะ
มีขอบเขตอำนาจใน
การตัดสินคดีที่
มากยิ่งขึ้น ศาลรัฐธรรมนูญจะ
มีอำนาจในการไต่
สวนและวินิจฉัยค
ดี เมื่อมีบุคคลใดก
็ตามได้ดำเนินกา
รร้องเรียน โดยไม่ได้มีเงื่
อนไขที่ว่ากรณีด
ังกล่าวต้องเป็น
ข้อพิพาทจริงที่
องค์กรทางการเมื
องหรือศาลอื่นได
้ดำเนินการยื่นเ
รื่องแก่ศาลรัฐธ
รรมนูญ"
"หากพวกเราคิดว่
าหลักการแบ่งแยก
อำนาจอธิปไตย คือ รากฐานเพื่อการส
ร้างความเจริญเต
ิบโตและเสถียรภา
พของประเทศ หัวข้อสำคัญที่พ
วกเราต้องพิจารณ
าคงเป็นเรื่องที
่ว่า อำนาจตุลาการจะล
่วงล้ำอำนาจนิติ
บัญญัติและอำนาจ
บริหารหรือไม่ เพื่อให้รัฐบาลส
ามารถบริหารเศรษ
ฐกิจของประเทศใน
ยุคที่เศรษฐกิจโ
ลกกำลังชะลอตัว ผมหวังว่าคงจะไม
่มีการใช้อำนาจต
ุลาการที่เกินกว
่าความจำเป็นอีก
ในอนาคต กรณีศึกษาในประเ
ทศต่างๆ ได้แสดงให้พวกเร
าเห็นว่า การใช้อำนาจพิจา
รณาทบทวนโดยศาล โดยไม่ได้มีการถ
่วงดุลและตรวจสอ
บ อาจกลายเป็นการใ
ช้อำนาจอย่างไม่
เหมาะสมและเป็น "ยุทธวิธีเตะถ่ว
งงาน" จนสุดท้ายก่อให้
เกิดอุปสรรคในกา
รดำเนินนโยบายเศ
รษฐกิจของประเทศ
" -- อดีตนายกรัฐมนตร
ี ดร.ทักษิณ กล่าว
อดีตนายกรัฐมนตร
ีแสดงวิสัยทัศน์
ด้านเศรษฐกิจโลก
ในศตวรรษที่ 21 ว่าควรให้ความสำ
คัญแก่การขยายคว
ามร่วมมือเพื่อส
ร้างผลประโยชน์ท
างเศรษฐกิจร่วมก
ับประเทศคู่ค้าต
่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มปร
ะเทศในเอเชีย ควรส่งเสริมการส
ร้างเครือข่ายคว
ามมั่งคั่งให้แก
่ประชาชนแบบระหว
่างประเทศและระห
ว่างภูมิภาค เพราะความเปลี่ย
นแปลงอันรวดเร็ว
ทางด้านเทคโนโลย
ีการผลิตแบบอุตส
าหกรรมไปสู่ "สภาวะปกติใหม่ข
องโลกปัจจุบัน" หรือ "New Normal" จากรูปแบบ "การผลิตสินค้าใ
นประเทศเดียว" สู่ "ระบบเครือข่ายก
ารออกแบบ การสรรหาปัจจัยก
ารผลิต และการผลิตที่มี
ลักษณะข้ามชาติ"
และอีคอมเมิร์ซท
ี่เติบโตอย่างมา
กโดยเฉพาะในภูมิ
ภาคเอเชีย-โอเชี
ยเนีย
"ประเทศไทยคงไม่
สามารถหลีกเลี่ย
งความท้าทายของโ
ลกในศตวรรษที่ 21 ได้ ตลอดช่วงกว่าครึ
่งศตวรรษที่ผ่าน
มา เศรษฐกิจไทยได้ถ
ูกเชื่อมโยงเข้า
กับเศรษฐกิจโลกอ
ย่างต่อเนื่อง สัดส่วนมูลค่ากา
รส่งออกต่อรายได
้ประชาชาติของปร
ะเทศไทยและมูลค่
าการลงทุนโดยตรง
จากต่างชาติในปร
ะเทศไทยได้แสดงใ
ห้พวกเราได้เห็น
อย่างชัดเจนถึงท
ิศทางของเศรษฐกิ
จไทยที่เชื่อมโย
งอย่างแน่นแฟ้นเ
ข้ากับชะตากรรมข
องเศรษฐกิจโลก" -- ดร.ทักษิณ เชื่อมโยงประเด็
นสถานการณ์ไทย ที่ต้องเผชิญกับ
ความเปลี่ยนแปลง
เช่นเดียวกับนาน
าชาติ
ขณะที่ความสัมพั
นธ์ระหว่างจีน กับ สหรัฐฯ ที่มักถูกมองแบบ
เหมารวมว่าเป็นป
ฏิปักษ์ต่อกัน อดีตนายกฯไทยมอง
ว่าการปกครองที่
แตกต่างกัน ซึ่งนำไปสู่นโยบ
ายเศรษฐกิจของทั
้งสองประเทศที่แ
ม้จะเป็นคนละขั้
ว แต่เป็นกระบวนกา
รคู่ขนาน ซึ่งเมื่อถึงจุด
หนึ่ง จะสร้างผลประโยช
น์ทางเศรษฐกิจร่
วมให้แก่ทั้งภูม
ิภาคเอเชียและโล
กตะวันตก
—