PPD's Official Website

Sunday, May 1, 2016

แดกเงินเดือนจากภาษี ของประชาชนแต่ทำตน รับใช้ ทรราช คสช.... เอาไงเฮ้ย


แดกเงินเดือนจากภาษี ของประชาชนแต่ทำตน รับใช้ ทรราช คสช.... เอาไงเฮ้ย


แดกเงินเดือนจากภาษี ของประชาชนแต่ทำตน รับใช้ ทรราช คสช.... เอาไงเฮ้ย


แดกเงินเดือนจากภาษี ของประชาชนแต่ทำตน รับใช้ ทรราช คสช.... เอาไงเฮ้ย


อาบเหงื่อต่างน้ำ ! กุลี ไพร่ ทาส ในประวัติศาสตร์ “แรงงานไทย”

อาบเหงื่อต่างน้ำ ! กุลี ไพร่ ทาส ในประวัติศาสตร์ "แรงงานไทย" (ชมภาพชุด )


1 พฤษภาคม วันแรงงาน ผู้มีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศมาแต่ครั้งโบราณกาล เดิมมีแรงงานเป็นไพร่และทาสภายใต้ระบอบศักดินา โดยจัดเป็นแรงงานบังคับ กล่าวคือ ต้องมีการเกณฑ์มาทำงานในด้านต่างๆให้บ้านเมือง ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างวัดวา เวียงวัง อีกทั้งถนนหนทาง รวมถึงเป็นทหารรบพุ่งกับข้าศึก

แรงงานสยามในอดีต ประกอบด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ อาทิ ลาว เป็นแรงงานสร้างกำแพงเมืองกรุงเทพ เขมรขุดคูคลอง เช่น คลองมหานาค รวมถึงชาวจีน ซึ่งถือเป็นแรงงานรับจ้างรุ่นแรกๆของไทยในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จุดเด่นอยู่ที่ความขยันขันแข็ง ทำงานได้หลากหลาย ไม่เกี่ยงงาน คนเหล่านี้ ถูกเรียกว่า กุลีจีน มีสัญลักษณ์คือการผูกปี้ครั่งที่ข้อมือ เสียภาษีให้รัฐปีละ 2 บาท มีอิสระในการเดินทางและรับจ้างตามสมัครใจ

คนลาวในอีสาน และเวียงจันทน์เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการในกรุงเทพฯ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)

กุลีจีน ทั้งลากรถ ขุดบ่อ ทำงานในเรือ ก่อสร้างถนนหนทาง ทำงานหีบอ้อยในโรงน้ำตาล ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เป็นแรงงานในการสีฝัดข้าวเปลือก แรงงานตัดเลื่อยไม้ด้วยมือ เป็นต้น

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฎิรูปประเทศหลายด้าน หนึ่งในนั้นคือการ เลิกทาส ซึ่งเป็นการยกเลิก ระบบไพร่ที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นแรงงานหลวง


คนลาวในอีสาน และเวียงจันทน์เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการในกรุงเทพฯ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)

กุลีจีน ทั้งลากรถ ขุดบ่อ ทำงานในเรือ ก่อสร้างถนนหนทาง ทำงานหีบอ้อยในโรงน้ำตาล ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เป็นแรงงานในการสีฝัดข้าวเปลือก แรงงานตัดเลื่อยไม้ด้วยมือ เป็นต้น

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฎิรูปประเทศหลายด้าน หนึ่งในนั้นคือการ เลิกทาส ซึ่งเป็นการยกเลิก ระบบไพร่ที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นแรงงานหลวง

กุลีจีนลากรถ แรงงานสำคัญในยุคต้นรัตนโกสินทร์

ครั้นช่วงก่อนปี 2475 ปัญญาชนเสรีนิยมส่วนหนึ่งไปสร้างฐานทางการเมืองในหมู่คนงานในนาม "คณะกรรมกร" นำโดย ถวัติ ฤทธิเดช ร.ต.ต.วาศ สุนทรจามร ถวัลย์ ชาติอาษา ขุนสมาหารหิตะคดี (โประ โปรคุปต์)

คณะกรรมกร ได้เป็นกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "กรรมกร" ที่ออกเผยแพร่ในปี พ.ศ.2465 โดยมีเหตุจูงใจจากการที่ได้เห็นสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่นายจ้างกระทำต่อลูกจ้าง และไม่เห็นว่าจะมีใครช่วยเหลือได้

คณะกรรมกร จึงมีความประสงค์ที่จะเป็นปากเป็นเสียงของมหาชน และพวกกรรมกรสยามเพื่อที่จะทำลายสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่ลูกจ้างถูกกระทำอยู่ในขณะนั้น

หนังสือพิมพ์กรรมกร พยายามชี้ให้กรรมกรได้เห็นถึงสิทธิต่างๆที่กรรมกรควรได้รับตามแบบอย่างของประเทศอุตสาหกรรม เช่น สิทธินัดหยุดงาน สิทธิในการก่อตั้งองค์กรพิทักษ์ผลประโยชน์ของลูกจ้าง และยังชี้ให้เห็นระบบการปกครองในขณะนั้น ที่เอื้ออำนวยให้นายจ้างมีสิทธิที่เหนือกว่าลูกจ้างมากมาย

หนังสือพิมพ์กรรมกร ก่อตั้งขึ้นในพ.ศ. 2465 ก่อนจะปิดตัวลงเมื่อ พ.ศ.2467

ต่อมา หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เกิดสมาคมที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน คือ สมาคมกรรมการรถรางแห่งสยาม นำโดย นายถวัติ ฤทธิเดช

จากนั้น เกิดหน่วยงาน "รัฐพาณิชย์" ซึ่งก็คือรัฐวิสาหกิจในยุคต่อมา

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดพระราชบัญญัติกฎหมายแรงงานฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2499

ยุค 14 ตุลา พ.ศ. 2516 มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานมากมาย

23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 การรัฐประหารของคณะ รสช. ได้แยกสลายขบวนการแรงงานภาครัฐวิสาหกิจกับเอกชน ทะนง โพธิ์อ่าน ผู้นำแรงงานที่ลุกขึ้นมาต่อต้านเผด็จการหายสาบสูญ

ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ใช้แรงงานราว 39 ล้านคน
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา นักวิชาการด้านแรงงาน  ระบุว่า แรงงานไทยกลายเป็นคนไม่มีภูมิหลัง ไม่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมา ส่งผลให้ถูกปฏิบัติอย่างไร้ค่าไม่เป็นธรรม จึงมีความพยายามส่งเสริมประวัติศาสตร์แรงงานไทยทั้งแง่ท่องเที่ยว การศึกษา ความบันเทิง และอื่นๆ เพื่อไม่ให้มีการนำประวัติศาสตร์การเอาเปรียบแรงงานมาใช้ในอนาคต
และทั้งหมดนี้ คือส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์แรงงานไทย กลุ่มคนสำคัญของสังคม ประเทศชาติ และโลกใบนี้

ภาพและข้อมูลส่วนหนึ่งจาก พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย และ ศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤติแรงงาน

 

ภาพถ่ายเก่าคนลาวในมณฑลอีสาน ซึ่งยุคแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ถูกเกณฑ์มาสร้างกำแพงและป้อมปราการในกรุงเทพฯ

 

กุลีจีน หรือจับกัง เป็น "แรงงานรับจ้าง" ยุคแรกๆของไทย โดยก่อนหน้านั้น มีแต่แรงงานเกณฑ์

 

แรงงานสยามในอดีต ภาพจากเวปศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤตแรงงาน

 

นักโทษถูกนำมาใช้แรงงาน (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)การสีฝัดข้าวในอดีตนายกสมาคมกรรมกรรถราง

by Taboola

เรื่องอื่นๆที่น่าสนใจ

หาดูยากมาก ! สมุดข่อย 'ขายทาส' พร้อมภาพชุด 'ทาสสยาม'

ฮือฮา พบแล้วหลักเขตไทย-กัมพูชา ชายแดนที่ 6 สูญหายตั้งแต่ปี 1980

ฮือฮา! ลาวทุ่ม 700 ล้านกีบ สร้าง'ฮูปปั้นซาย'ฉลองสงกรานต์ธีมอาเซียน

ย้อนอดีตกรุ (ง) แตก : เปิดกรุวัดราชบูรณะ ตอนที่ 2

ย้อนอดีตกรุ (ง) แตก 


คนลาวในอีสาน และเวียงจันทน์เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการในกรุงเทพฯ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)

กุลีจีน ทั้งลากรถ ขุดบ่อ ทำงานในเรือ ก่อสร้างถนนหนทาง ทำงานหีบอ้อยในโรงน้ำตาล ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เป็นแรงงานในการสีฝัดข้าวเปลือก แรงงานตัดเลื่อยไม้ด้วยมือ เป็นต้น

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฎิรูปประเทศหลายด้าน หนึ่งในนั้นคือการ เลิกทาส ซึ่งเป็นการยกเลิก ระบบไพร่ที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นแรงงานหลวง

กุลีจีนลากรถ แรงงานสำคัญในยุคต้นรัตนโกสินทร์

ครั้นช่วงก่อนปี 2475 ปัญญาชนเสรีนิยมส่วนหนึ่งไปสร้างฐานทางการเมืองในหมู่คนงานในนาม "คณะกรรมกร" นำโดย ถวัติ ฤทธิเดช ร.ต.ต.วาศ สุนทรจามร ถวัลย์ ชาติอาษา ขุนสมาหารหิตะคดี (โประ โปรคุปต์)

คณะกรรมกร ได้เป็นกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "กรรมกร" ที่ออกเผยแพร่ในปี พ.ศ.2465 โดยมีเหตุจูงใจจากการที่ได้เห็นสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่นายจ้างกระทำต่อลูกจ้าง และไม่เห็นว่าจะมีใครช่วยเหลือได้

คณะกรรมกร จึงมีความประสงค์ที่จะเป็นปากเป็นเสียงของมหาชน และพวกกรรมกรสยามเพื่อที่จะทำลายสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่ลูกจ้างถูกกระทำอยู่ในขณะนั้น

หนังสือพิมพ์กรรมกร พยายามชี้ให้กรรมกรได้เห็นถึงสิทธิต่างๆที่กรรมกรควรได้รับตามแบบอย่างของประเทศอุตสาหกรรม เช่น สิทธินัดหยุดงาน สิทธิในการก่อตั้งองค์กรพิทักษ์ผลประโยชน์ของลูกจ้าง และยังชี้ให้เห็นระบบการปกครองในขณะนั้น ที่เอื้ออำนวยให้นายจ้างมีสิทธิที่เหนือกว่าลูกจ้างมากมาย

หนังสือพิมพ์กรรมกร ก่อตั้งขึ้นในพ.ศ. 2465 ก่อนจะปิดตัวลงเมื่อ พ.ศ.2467

ต่อมา หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เกิดสมาคมที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน คือ สมาคมกรรมการรถรางแห่งสยาม นำโดย นายถวัติ ฤทธิเดช

จากนั้น เกิดหน่วยงาน "รัฐพาณิชย์" ซึ่งก็คือรัฐวิสาหกิจในยุคต่อมา

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดพระราชบัญญัติกฎหมายแรงงานฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2499

ยุค 14 ตุลา พ.ศ. 2516 มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานมากมาย

23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 การรัฐประหารของคณะ รสช. ได้แยกสลายขบวนการแรงงานภาครัฐวิสาหกิจกับเอกชน ทะนง โพธิ์อ่าน ผู้นำแรงงานที่ลุกขึ้นมาต่อต้านเผด็จการหายสาบสูญ

ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ใช้แรงงานราว 39 ล้านคน
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา นักวิชาการด้านแรงงาน  ระบุว่า แรงงานไทยกลายเป็นคนไม่มีภูมิหลัง ไม่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมา ส่งผลให้ถูกปฏิบัติอย่างไร้ค่าไม่เป็นธรรม จึงมีความพยายามส่งเสริมประวัติศาสตร์แรงงานไทยทั้งแง่ท่องเที่ยว การศึกษา ความบันเทิง และอื่นๆ เพื่อไม่ให้มีการนำประวัติศาสตร์การเอาเปรียบแรงงานมาใช้ในอนาคต
และทั้งหมดนี้ คือส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์แรงงานไทย กลุ่มคนสำคัญของสังคม ประเทศชาติ และโลกใบนี้

ภาพและข้อมูลส่วนหนึ่งจาก พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย และ ศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤติแรงงาน

 

ภาพถ่ายเก่าคนลาวในมณฑลอีสาน ซึ่งยุคแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ถูกเกณฑ์มาสร้างกำแพงและป้อมปราการในกรุงเทพฯ

 

กุลีจีน หรือจับกัง เป็น "แรงงานรับจ้าง" ยุคแรกๆของไทย โดยก่อนหน้านั้น มีแต่แรงงานเกณฑ์

 

แรงงานสยามในอดีต ภาพจากเวปศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤตแรงงาน

 

นักโทษถูกนำมาใช้แรงงาน (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)การสีฝัดข้าวในอดีตนายกสมาคมกรรมกรรถราง

by Taboola

เรื่องอื่นๆที่น่าสนใจ

หาดูยากมาก ! สมุดข่อย 'ขายทาส' พร้อมภาพชุด 'ทาสสยาม'

       อาสาหาข่าว
         1/5/59

อาบเหงื่อต่างน้ำ ! กุลี ไพร่ ทาส ในประวัติศาสตร์ “แรงงานไทย”

อาบเหงื่อต่างน้ำ ! กุลี ไพร่ ทาส ในประวัติศาสตร์ "แรงงานไทย" (ชมภาพชุด )


1 พฤษภาคม วันแรงงาน ผู้มีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศมาแต่ครั้งโบราณกาล เดิมมีแรงงานเป็นไพร่และทาสภายใต้ระบอบศักดินา โดยจัดเป็นแรงงานบังคับ กล่าวคือ ต้องมีการเกณฑ์มาทำงานในด้านต่างๆให้บ้านเมือง ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างวัดวา เวียงวัง อีกทั้งถนนหนทาง รวมถึงเป็นทหารรบพุ่งกับข้าศึก

แรงงานสยามในอดีต ประกอบด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ อาทิ ลาว เป็นแรงงานสร้างกำแพงเมืองกรุงเทพ เขมรขุดคูคลอง เช่น คลองมหานาค รวมถึงชาวจีน ซึ่งถือเป็นแรงงานรับจ้างรุ่นแรกๆของไทยในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จุดเด่นอยู่ที่ความขยันขันแข็ง ทำงานได้หลากหลาย ไม่เกี่ยงงาน คนเหล่านี้ ถูกเรียกว่า กุลีจีน มีสัญลักษณ์คือการผูกปี้ครั่งที่ข้อมือ เสียภาษีให้รัฐปีละ 2 บาท มีอิสระในการเดินทางและรับจ้างตามสมัครใจ

คนลาวในอีสาน และเวียงจันทน์เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการในกรุงเทพฯ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)

กุลีจีน ทั้งลากรถ ขุดบ่อ ทำงานในเรือ ก่อสร้างถนนหนทาง ทำงานหีบอ้อยในโรงน้ำตาล ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เป็นแรงงานในการสีฝัดข้าวเปลือก แรงงานตัดเลื่อยไม้ด้วยมือ เป็นต้น

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฎิรูปประเทศหลายด้าน หนึ่งในนั้นคือการ เลิกทาส ซึ่งเป็นการยกเลิก ระบบไพร่ที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นแรงงานหลวง


คนลาวในอีสาน และเวียงจันทน์เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการในกรุงเทพฯ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)

กุลีจีน ทั้งลากรถ ขุดบ่อ ทำงานในเรือ ก่อสร้างถนนหนทาง ทำงานหีบอ้อยในโรงน้ำตาล ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เป็นแรงงานในการสีฝัดข้าวเปลือก แรงงานตัดเลื่อยไม้ด้วยมือ เป็นต้น

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฎิรูปประเทศหลายด้าน หนึ่งในนั้นคือการ เลิกทาส ซึ่งเป็นการยกเลิก ระบบไพร่ที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นแรงงานหลวง

กุลีจีนลากรถ แรงงานสำคัญในยุคต้นรัตนโกสินทร์

ครั้นช่วงก่อนปี 2475 ปัญญาชนเสรีนิยมส่วนหนึ่งไปสร้างฐานทางการเมืองในหมู่คนงานในนาม "คณะกรรมกร" นำโดย ถวัติ ฤทธิเดช ร.ต.ต.วาศ สุนทรจามร ถวัลย์ ชาติอาษา ขุนสมาหารหิตะคดี (โประ โปรคุปต์)

คณะกรรมกร ได้เป็นกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "กรรมกร" ที่ออกเผยแพร่ในปี พ.ศ.2465 โดยมีเหตุจูงใจจากการที่ได้เห็นสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่นายจ้างกระทำต่อลูกจ้าง และไม่เห็นว่าจะมีใครช่วยเหลือได้

คณะกรรมกร จึงมีความประสงค์ที่จะเป็นปากเป็นเสียงของมหาชน และพวกกรรมกรสยามเพื่อที่จะทำลายสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่ลูกจ้างถูกกระทำอยู่ในขณะนั้น

หนังสือพิมพ์กรรมกร พยายามชี้ให้กรรมกรได้เห็นถึงสิทธิต่างๆที่กรรมกรควรได้รับตามแบบอย่างของประเทศอุตสาหกรรม เช่น สิทธินัดหยุดงาน สิทธิในการก่อตั้งองค์กรพิทักษ์ผลประโยชน์ของลูกจ้าง และยังชี้ให้เห็นระบบการปกครองในขณะนั้น ที่เอื้ออำนวยให้นายจ้างมีสิทธิที่เหนือกว่าลูกจ้างมากมาย

หนังสือพิมพ์กรรมกร ก่อตั้งขึ้นในพ.ศ. 2465 ก่อนจะปิดตัวลงเมื่อ พ.ศ.2467

ต่อมา หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เกิดสมาคมที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน คือ สมาคมกรรมการรถรางแห่งสยาม นำโดย นายถวัติ ฤทธิเดช

จากนั้น เกิดหน่วยงาน "รัฐพาณิชย์" ซึ่งก็คือรัฐวิสาหกิจในยุคต่อมา

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดพระราชบัญญัติกฎหมายแรงงานฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2499

ยุค 14 ตุลา พ.ศ. 2516 มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานมากมาย

23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 การรัฐประหารของคณะ รสช. ได้แยกสลายขบวนการแรงงานภาครัฐวิสาหกิจกับเอกชน ทะนง โพธิ์อ่าน ผู้นำแรงงานที่ลุกขึ้นมาต่อต้านเผด็จการหายสาบสูญ

ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ใช้แรงงานราว 39 ล้านคน
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา นักวิชาการด้านแรงงาน  ระบุว่า แรงงานไทยกลายเป็นคนไม่มีภูมิหลัง ไม่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมา ส่งผลให้ถูกปฏิบัติอย่างไร้ค่าไม่เป็นธรรม จึงมีความพยายามส่งเสริมประวัติศาสตร์แรงงานไทยทั้งแง่ท่องเที่ยว การศึกษา ความบันเทิง และอื่นๆ เพื่อไม่ให้มีการนำประวัติศาสตร์การเอาเปรียบแรงงานมาใช้ในอนาคต
และทั้งหมดนี้ คือส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์แรงงานไทย กลุ่มคนสำคัญของสังคม ประเทศชาติ และโลกใบนี้

ภาพและข้อมูลส่วนหนึ่งจาก พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย และ ศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤติแรงงาน

 

ภาพถ่ายเก่าคนลาวในมณฑลอีสาน ซึ่งยุคแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ถูกเกณฑ์มาสร้างกำแพงและป้อมปราการในกรุงเทพฯ

 

กุลีจีน หรือจับกัง เป็น "แรงงานรับจ้าง" ยุคแรกๆของไทย โดยก่อนหน้านั้น มีแต่แรงงานเกณฑ์

 

แรงงานสยามในอดีต ภาพจากเวปศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤตแรงงาน

 

นักโทษถูกนำมาใช้แรงงาน (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)การสีฝัดข้าวในอดีตนายกสมาคมกรรมกรรถราง

by Taboola

เรื่องอื่นๆที่น่าสนใจ

หาดูยากมาก ! สมุดข่อย 'ขายทาส' พร้อมภาพชุด 'ทาสสยาม'

ฮือฮา พบแล้วหลักเขตไทย-กัมพูชา ชายแดนที่ 6 สูญหายตั้งแต่ปี 1980

ฮือฮา! ลาวทุ่ม 700 ล้านกีบ สร้าง'ฮูปปั้นซาย'ฉลองสงกรานต์ธีมอาเซียน

ย้อนอดีตกรุ (ง) แตก : เปิดกรุวัดราชบูรณะ ตอนที่ 2

ย้อนอดีตกรุ (ง) แตก 


คนลาวในอีสาน และเวียงจันทน์เป็นผู้สร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการในกรุงเทพฯ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)

กุลีจีน ทั้งลากรถ ขุดบ่อ ทำงานในเรือ ก่อสร้างถนนหนทาง ทำงานหีบอ้อยในโรงน้ำตาล ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เป็นแรงงานในการสีฝัดข้าวเปลือก แรงงานตัดเลื่อยไม้ด้วยมือ เป็นต้น

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฎิรูปประเทศหลายด้าน หนึ่งในนั้นคือการ เลิกทาส ซึ่งเป็นการยกเลิก ระบบไพร่ที่ต้องถูกเกณฑ์เป็นแรงงานหลวง

กุลีจีนลากรถ แรงงานสำคัญในยุคต้นรัตนโกสินทร์

ครั้นช่วงก่อนปี 2475 ปัญญาชนเสรีนิยมส่วนหนึ่งไปสร้างฐานทางการเมืองในหมู่คนงานในนาม "คณะกรรมกร" นำโดย ถวัติ ฤทธิเดช ร.ต.ต.วาศ สุนทรจามร ถวัลย์ ชาติอาษา ขุนสมาหารหิตะคดี (โประ โปรคุปต์)

คณะกรรมกร ได้เป็นกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "กรรมกร" ที่ออกเผยแพร่ในปี พ.ศ.2465 โดยมีเหตุจูงใจจากการที่ได้เห็นสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่นายจ้างกระทำต่อลูกจ้าง และไม่เห็นว่าจะมีใครช่วยเหลือได้

คณะกรรมกร จึงมีความประสงค์ที่จะเป็นปากเป็นเสียงของมหาชน และพวกกรรมกรสยามเพื่อที่จะทำลายสภาพการเอารัดเอาเปรียบที่ลูกจ้างถูกกระทำอยู่ในขณะนั้น

หนังสือพิมพ์กรรมกร พยายามชี้ให้กรรมกรได้เห็นถึงสิทธิต่างๆที่กรรมกรควรได้รับตามแบบอย่างของประเทศอุตสาหกรรม เช่น สิทธินัดหยุดงาน สิทธิในการก่อตั้งองค์กรพิทักษ์ผลประโยชน์ของลูกจ้าง และยังชี้ให้เห็นระบบการปกครองในขณะนั้น ที่เอื้ออำนวยให้นายจ้างมีสิทธิที่เหนือกว่าลูกจ้างมากมาย

หนังสือพิมพ์กรรมกร ก่อตั้งขึ้นในพ.ศ. 2465 ก่อนจะปิดตัวลงเมื่อ พ.ศ.2467

ต่อมา หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เกิดสมาคมที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน คือ สมาคมกรรมการรถรางแห่งสยาม นำโดย นายถวัติ ฤทธิเดช

จากนั้น เกิดหน่วยงาน "รัฐพาณิชย์" ซึ่งก็คือรัฐวิสาหกิจในยุคต่อมา

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดพระราชบัญญัติกฎหมายแรงงานฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2499

ยุค 14 ตุลา พ.ศ. 2516 มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานมากมาย

23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 การรัฐประหารของคณะ รสช. ได้แยกสลายขบวนการแรงงานภาครัฐวิสาหกิจกับเอกชน ทะนง โพธิ์อ่าน ผู้นำแรงงานที่ลุกขึ้นมาต่อต้านเผด็จการหายสาบสูญ

ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ใช้แรงงานราว 39 ล้านคน
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา นักวิชาการด้านแรงงาน  ระบุว่า แรงงานไทยกลายเป็นคนไม่มีภูมิหลัง ไม่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมา ส่งผลให้ถูกปฏิบัติอย่างไร้ค่าไม่เป็นธรรม จึงมีความพยายามส่งเสริมประวัติศาสตร์แรงงานไทยทั้งแง่ท่องเที่ยว การศึกษา ความบันเทิง และอื่นๆ เพื่อไม่ให้มีการนำประวัติศาสตร์การเอาเปรียบแรงงานมาใช้ในอนาคต
และทั้งหมดนี้ คือส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์แรงงานไทย กลุ่มคนสำคัญของสังคม ประเทศชาติ และโลกใบนี้

ภาพและข้อมูลส่วนหนึ่งจาก พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย และ ศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤติแรงงาน

 

ภาพถ่ายเก่าคนลาวในมณฑลอีสาน ซึ่งยุคแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ถูกเกณฑ์มาสร้างกำแพงและป้อมปราการในกรุงเทพฯ

 

กุลีจีน หรือจับกัง เป็น "แรงงานรับจ้าง" ยุคแรกๆของไทย โดยก่อนหน้านั้น มีแต่แรงงานเกณฑ์

 

แรงงานสยามในอดีต ภาพจากเวปศูนย์ช่วยเหลือและจัดการวิกฤตแรงงาน

 

นักโทษถูกนำมาใช้แรงงาน (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5)การสีฝัดข้าวในอดีตนายกสมาคมกรรมกรรถราง

by Taboola

เรื่องอื่นๆที่น่าสนใจ

หาดูยากมาก ! สมุดข่อย 'ขายทาส' พร้อมภาพชุด 'ทาสสยาม'

       อาสาหาข่าว
         1/5/59

ใครเขาจะเชื่อมึงไอ้ตูบ ไอ้หน้าเหี้ย แม่งโกหกตอแหล ขั้นได้โล้.

ใครเขาจะเชื่อมึงไอ้ตูบ ไอ้หน้าเหี้ย แม่งโกหกตอแหล ขั้นได้โล้.

-----------------------------------------------------------------------------------

เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ที่ท้องสนามหลวง 

"ต่อให้ตายก็ยอม เพราะผมให้ไปแล้ว พวกผมอุทิศไปแล้วทั้งตัวและหัวใจ ผมเสี่ยงอันตรายเข้ามา วันหน้าจะเป็นอย่างไรไม่รู้ แต่ผมต้องทำ เพราะเห็นพวกท่านไม่มีความสุขไม่ได้ ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ วันนี้ปรับตัวทั้งหมด ทั้งหมดต้องปรับตัวเข้าหากัน จะได้เป็นสังคมที่ไม่มีความรุนแรง ไม่มีการบังคับใช้กฎหมายมากเกินจำเป็น ทุกคนต้องการกฎหมาย แต่ของเก่าที่ออกมายังไม่เชื่อ วันหน้าคอยดูแล้วกัน จากวันนี้จนถึง 7 สิงหาคม ต้องช่วยผมนะ อย่าให้วุ่นวาย อย่าไปเป็นเครื่องมือเขา อย่าไปคิดว่าเดี๋ยวเขาเข้ามาแล้วจะปรับค่าแรงเป็น 400-500 บาท มันเป็นไปไม่ได้ จะเอาเงินที่ไหน ข้าวเกวียนละเท่าไรไม่รู้ เดี๋ยวก็มาอีก เชื่อผมสิวันนี้อยู่ในคลังขายไม่ออก ขายไม่ได้ มีข้าวปลอมปนเยอะแยะถูกผิดผมไม่รู้ พูดไปก็โดนด่าอีก แต่ผมไม่กลัว" ไอ้ตูบประยุทธ์ กล่าว

-
ถุยยยยยยยยยยยย

-
ใครเขาจะเชื่อมึงไอ้ตูบ ไอ้หน้าเหี้ย แม่งโกหกตอแหล ขั้นได้โล้.
-
ไอ้ตูบแระยุทธ์ แค่มึงและคณะลาออกแล้วพร้อมใจกัน คืนอำนาจให้กับประชาชน เงินที่พวกมึงคดโกงแผ่นดินไปก็ มอบให้เป็นสมบัติของแผ่นดิน แค่นี้ แล้วก็เดินเข้าคุก โดยข้อหากบฏ และฆาตกรล้างเผ่าพันธุ์ ประเทศและประชาชนก็มีความสุขแล้ว 

-
เสรีชน