PPD's Official Website

Sunday, May 1, 2016

แถลงการณ์ อมธ. 1 พ.ค. 2559 ทรราช คสช.หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง

อมธ. ออกแถลงการณ์ขอ คสช. หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง
-
Sun, 2016-05-01 22:57
-
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ออกแถลงการณ์ 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' ระบุไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง ชี้ คสช. ควรเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตย
-
1 พ.ค. 2559 องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' โดยระบุว่าสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ตลอดระยะเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา  ได้มีการจับกุมคุมขังบุคคลต่าง ๆ ในประเด็นเกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล และมีการบังคับใช้บทบัญญัติกฎหมายจำนวนมาก อันเป็นผลให้เกิดการควบคุมการแสดงความคิดเห็นของประชาชนในกระบวนการทำประชามติ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีความคิดเห็นต่อประเด็นดังกล่าวดังต่อไปนี้
 -
1. การจับกุมบุคคลไปคุมขังโดยมิได้เปิดเผยข้อมูล โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 44 มิได้เป็นไปตามหลักนิติธรรม และไม่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในประเทศได้ มีแต่จะทำให้เกิดความเกลียดชังที่ร้าวลึกจนยากที่จะแก้ไข รัฐบาลควรรับฟังเมื่อถูกวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชน หากเชื่อว่าเราทุกคนคือเจ้าของประเทศร่วมกัน การปิดกั้นความเห็นต่างจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ๆ
 -
2. การตีความพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำประชามติ ฉบับปี พ.ศ. 2559 เป็นไปในทางที่ให้เกิดการฟ้องร้องดำเนินคดีต่อกลุ่มบุคคลที่แสดงความคิดเห็นคัดค้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2559 ไม่ก่อให้เกิดบรรยากาศของความเป็นประชาธิปไตยในกระบวนการออกเสียง ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวควรเป็นช่วงเวลาที่ประชาชนควรได้รับฟังข้อมูลทั้งสองด้านอย่างเต็มที่ เพื่อใช้ดุลพินิจพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างรอบด้าน เพราะหากร่างรัฐธรรมนูญนี้ถูกประกาศใช้ย่อมส่งผลต่อประชาชนทุกคน
 -
3. ความไม่ชัดเจนในแนวทาง หากผลประชามติออกมาในทางไม่รับร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เปรียบเสมือนการให้ประชาชนออกไปลงคะแนน แต่ไม่รู้ว่าการลงคะแนนนั้น จะพาอนาคตของพวกเขาไปในทางไหน รู้เพียงแต่ว่าหากลงคะแนนรับ ก็จะได้รับรัฐธรรมนูญดังกล่าว แต่ไม่อาจทราบได้เลยว่าหากไม่รับผลจะออกมาในทิศทางใด ความไม่ชัดเจนในประเด็นนี้จะก่อให้เกิดผลเสียต่อประเทศชาติในระยะยาว
 -
4. จากกรณี นางสาวกรกนก คำตา นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ต้องหาในคดี "นั่งรถไฟไปอุทยานราชภักดิ์" ถูกคุกคามและละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรือนจำ โดยการกระทำดังกล่าวเกิดขึ้นทั้ง ๆ ที่ผู้ต้องหาได้รับการประกันตัวแล้วไม่มีการแจ้งหรือระงับเหตุการณ์ใด ๆ องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในฐานะตัวแทนของนักศึกษาขอเรียกร้องให้มีการตรวจสอบและดำเนินการกับกรณีนี้ เพื่อไม่ให้มีเหยื่อจากความไม่เป็นธรรมรูปแบบนี้เกิดขึ้นอีก
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าความคิดเห็นและข้อเสนอแนะข้างต้น จะได้รับการรับฟังและนำไปปรับปรุงแก้ไข องค์การนักศึกษาฯ ไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง โดยการนำเข้าสู่กระบวนการปรับทัศนคติ แต่ต้องการเห็นคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตยและยังประโยชน์ถึงประชาชนชาวไทยทุกคนต่อไป
-




แถลงการณ์ อมธ. 1 พ.ค. 2559 ทรราช คสช.หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง

อมธ. ออกแถลงการณ์ขอ คสช. หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง
-
Sun, 2016-05-01 22:57
-
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ออกแถลงการณ์ 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' ระบุไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง ชี้ คสช. ควรเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตย
-
1 พ.ค. 2559 องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' โดยระบุว่าสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ตลอดระยะเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา  ได้มีการจับกุมคุมขังบุคคลต่าง ๆ ในประเด็นเกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล และมีการบังคับใช้บทบัญญัติกฎหมายจำนวนมาก อันเป็นผลให้เกิดการควบคุมการแสดงความคิดเห็นของประชาชนในกระบวนการทำประชามติ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีความคิดเห็นต่อประเด็นดังกล่าวดังต่อไปนี้
 -
1. การจับกุมบุคคลไปคุมขังโดยมิได้เปิดเผยข้อมูล โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 44 มิได้เป็นไปตามหลักนิติธรรม และไม่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในประเทศได้ มีแต่จะทำให้เกิดความเกลียดชังที่ร้าวลึกจนยากที่จะแก้ไข รัฐบาลควรรับฟังเมื่อถูกวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชน หากเชื่อว่าเราทุกคนคือเจ้าของประเทศร่วมกัน การปิดกั้นความเห็นต่างจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ๆ
 -
2. การตีความพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำประชามติ ฉบับปี พ.ศ. 2559 เป็นไปในทางที่ให้เกิดการฟ้องร้องดำเนินคดีต่อกลุ่มบุคคลที่แสดงความคิดเห็นคัดค้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2559 ไม่ก่อให้เกิดบรรยากาศของความเป็นประชาธิปไตยในกระบวนการออกเสียง ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวควรเป็นช่วงเวลาที่ประชาชนควรได้รับฟังข้อมูลทั้งสองด้านอย่างเต็มที่ เพื่อใช้ดุลพินิจพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างรอบด้าน เพราะหากร่างรัฐธรรมนูญนี้ถูกประกาศใช้ย่อมส่งผลต่อประชาชนทุกคน
 -
3. ความไม่ชัดเจนในแนวทาง หากผลประชามติออกมาในทางไม่รับร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เปรียบเสมือนการให้ประชาชนออกไปลงคะแนน แต่ไม่รู้ว่าการลงคะแนนนั้น จะพาอนาคตของพวกเขาไปในทางไหน รู้เพียงแต่ว่าหากลงคะแนนรับ ก็จะได้รับรัฐธรรมนูญดังกล่าว แต่ไม่อาจทราบได้เลยว่าหากไม่รับผลจะออกมาในทิศทางใด ความไม่ชัดเจนในประเด็นนี้จะก่อให้เกิดผลเสียต่อประเทศชาติในระยะยาว
 -
4. จากกรณี นางสาวกรกนก คำตา นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ต้องหาในคดี "นั่งรถไฟไปอุทยานราชภักดิ์" ถูกคุกคามและละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรือนจำ โดยการกระทำดังกล่าวเกิดขึ้นทั้ง ๆ ที่ผู้ต้องหาได้รับการประกันตัวแล้วไม่มีการแจ้งหรือระงับเหตุการณ์ใด ๆ องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในฐานะตัวแทนของนักศึกษาขอเรียกร้องให้มีการตรวจสอบและดำเนินการกับกรณีนี้ เพื่อไม่ให้มีเหยื่อจากความไม่เป็นธรรมรูปแบบนี้เกิดขึ้นอีก
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าความคิดเห็นและข้อเสนอแนะข้างต้น จะได้รับการรับฟังและนำไปปรับปรุงแก้ไข องค์การนักศึกษาฯ ไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง โดยการนำเข้าสู่กระบวนการปรับทัศนคติ แต่ต้องการเห็นคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตยและยังประโยชน์ถึงประชาชนชาวไทยทุกคนต่อไป
-




แถลงการณ์ อมธ. 1 พ.ค. 2559 ทรราช คสช.หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง

อมธ. ออกแถลงการณ์ขอ คสช. หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง
-
Sun, 2016-05-01 22:57
-
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ออกแถลงการณ์ 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' ระบุไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง ชี้ คสช. ควรเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตย
-
1 พ.ค. 2559 องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' โดยระบุว่าสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ตลอดระยะเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา  ได้มีการจับกุมคุมขังบุคคลต่าง ๆ ในประเด็นเกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล และมีการบังคับใช้บทบัญญัติกฎหมายจำนวนมาก อันเป็นผลให้เกิดการควบคุมการแสดงความคิดเห็นของประชาชนในกระบวนการทำประชามติ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีความคิดเห็นต่อประเด็นดังกล่าวดังต่อไปนี้
 -
1. การจับกุมบุคคลไปคุมขังโดยมิได้เปิดเผยข้อมูล โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 44 มิได้เป็นไปตามหลักนิติธรรม และไม่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในประเทศได้ มีแต่จะทำให้เกิดความเกลียดชังที่ร้าวลึกจนยากที่จะแก้ไข รัฐบาลควรรับฟังเมื่อถูกวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชน หากเชื่อว่าเราทุกคนคือเจ้าของประเทศร่วมกัน การปิดกั้นความเห็นต่างจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ๆ
 -
2. การตีความพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำประชามติ ฉบับปี พ.ศ. 2559 เป็นไปในทางที่ให้เกิดการฟ้องร้องดำเนินคดีต่อกลุ่มบุคคลที่แสดงความคิดเห็นคัดค้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2559 ไม่ก่อให้เกิดบรรยากาศของความเป็นประชาธิปไตยในกระบวนการออกเสียง ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวควรเป็นช่วงเวลาที่ประชาชนควรได้รับฟังข้อมูลทั้งสองด้านอย่างเต็มที่ เพื่อใช้ดุลพินิจพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างรอบด้าน เพราะหากร่างรัฐธรรมนูญนี้ถูกประกาศใช้ย่อมส่งผลต่อประชาชนทุกคน
 -
3. ความไม่ชัดเจนในแนวทาง หากผลประชามติออกมาในทางไม่รับร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เปรียบเสมือนการให้ประชาชนออกไปลงคะแนน แต่ไม่รู้ว่าการลงคะแนนนั้น จะพาอนาคตของพวกเขาไปในทางไหน รู้เพียงแต่ว่าหากลงคะแนนรับ ก็จะได้รับรัฐธรรมนูญดังกล่าว แต่ไม่อาจทราบได้เลยว่าหากไม่รับผลจะออกมาในทิศทางใด ความไม่ชัดเจนในประเด็นนี้จะก่อให้เกิดผลเสียต่อประเทศชาติในระยะยาว
 -
4. จากกรณี นางสาวกรกนก คำตา นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ต้องหาในคดี "นั่งรถไฟไปอุทยานราชภักดิ์" ถูกคุกคามและละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรือนจำ โดยการกระทำดังกล่าวเกิดขึ้นทั้ง ๆ ที่ผู้ต้องหาได้รับการประกันตัวแล้วไม่มีการแจ้งหรือระงับเหตุการณ์ใด ๆ องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในฐานะตัวแทนของนักศึกษาขอเรียกร้องให้มีการตรวจสอบและดำเนินการกับกรณีนี้ เพื่อไม่ให้มีเหยื่อจากความไม่เป็นธรรมรูปแบบนี้เกิดขึ้นอีก
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าความคิดเห็นและข้อเสนอแนะข้างต้น จะได้รับการรับฟังและนำไปปรับปรุงแก้ไข องค์การนักศึกษาฯ ไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง โดยการนำเข้าสู่กระบวนการปรับทัศนคติ แต่ต้องการเห็นคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตยและยังประโยชน์ถึงประชาชนชาวไทยทุกคนต่อไป
-




แถลงการณ์ อมธ. 1 พ.ค. 2559 ทรราช คสช.หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง

อมธ. ออกแถลงการณ์ขอ คสช. หยุดปิดกั้นความเห็นต่าง
-
Sun, 2016-05-01 22:57
-
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ออกแถลงการณ์ 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' ระบุไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง ชี้ คสช. ควรเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตย
-
1 พ.ค. 2559 องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง 'สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศและกระบวนการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญ' โดยระบุว่าสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ตลอดระยะเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา  ได้มีการจับกุมคุมขังบุคคลต่าง ๆ ในประเด็นเกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล และมีการบังคับใช้บทบัญญัติกฎหมายจำนวนมาก อันเป็นผลให้เกิดการควบคุมการแสดงความคิดเห็นของประชาชนในกระบวนการทำประชามติ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีความคิดเห็นต่อประเด็นดังกล่าวดังต่อไปนี้
 -
1. การจับกุมบุคคลไปคุมขังโดยมิได้เปิดเผยข้อมูล โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 (ฉบับชั่วคราว) มาตรา 44 มิได้เป็นไปตามหลักนิติธรรม และไม่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในประเทศได้ มีแต่จะทำให้เกิดความเกลียดชังที่ร้าวลึกจนยากที่จะแก้ไข รัฐบาลควรรับฟังเมื่อถูกวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชน หากเชื่อว่าเราทุกคนคือเจ้าของประเทศร่วมกัน การปิดกั้นความเห็นต่างจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ๆ
 -
2. การตีความพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำประชามติ ฉบับปี พ.ศ. 2559 เป็นไปในทางที่ให้เกิดการฟ้องร้องดำเนินคดีต่อกลุ่มบุคคลที่แสดงความคิดเห็นคัดค้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับออกเสียงประชามติ พ.ศ. 2559 ไม่ก่อให้เกิดบรรยากาศของความเป็นประชาธิปไตยในกระบวนการออกเสียง ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวควรเป็นช่วงเวลาที่ประชาชนควรได้รับฟังข้อมูลทั้งสองด้านอย่างเต็มที่ เพื่อใช้ดุลพินิจพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างรอบด้าน เพราะหากร่างรัฐธรรมนูญนี้ถูกประกาศใช้ย่อมส่งผลต่อประชาชนทุกคน
 -
3. ความไม่ชัดเจนในแนวทาง หากผลประชามติออกมาในทางไม่รับร่างรัฐธรรมนูญดังกล่าวของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เปรียบเสมือนการให้ประชาชนออกไปลงคะแนน แต่ไม่รู้ว่าการลงคะแนนนั้น จะพาอนาคตของพวกเขาไปในทางไหน รู้เพียงแต่ว่าหากลงคะแนนรับ ก็จะได้รับรัฐธรรมนูญดังกล่าว แต่ไม่อาจทราบได้เลยว่าหากไม่รับผลจะออกมาในทิศทางใด ความไม่ชัดเจนในประเด็นนี้จะก่อให้เกิดผลเสียต่อประเทศชาติในระยะยาว
 -
4. จากกรณี นางสาวกรกนก คำตา นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ต้องหาในคดี "นั่งรถไฟไปอุทยานราชภักดิ์" ถูกคุกคามและละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรือนจำ โดยการกระทำดังกล่าวเกิดขึ้นทั้ง ๆ ที่ผู้ต้องหาได้รับการประกันตัวแล้วไม่มีการแจ้งหรือระงับเหตุการณ์ใด ๆ องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในฐานะตัวแทนของนักศึกษาขอเรียกร้องให้มีการตรวจสอบและดำเนินการกับกรณีนี้ เพื่อไม่ให้มีเหยื่อจากความไม่เป็นธรรมรูปแบบนี้เกิดขึ้นอีก
 -
องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าความคิดเห็นและข้อเสนอแนะข้างต้น จะได้รับการรับฟังและนำไปปรับปรุงแก้ไข องค์การนักศึกษาฯ ไม่ต้องการเห็นการควบคุมคนที่เห็นต่าง โดยการนำเข้าสู่กระบวนการปรับทัศนคติ แต่ต้องการเห็นคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้าใจและยอมรับถึงทัศนคติที่แตกต่างหลากหลายของคนในสังคม อันจะเป็นผลให้กระบวนการประชามติร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตยและยังประโยชน์ถึงประชาชนชาวไทยทุกคนต่อไป
-




กรรมชน ....วันนี้เราได้อะไรจากการทำรัฐประหาร

กรรมชน ....วันนี้เราได้อะไรจากการทำรัฐประหาร 

-------------------------------------------------------------------------------------
กลุ่มสมาพันธ์แรงงานฯ 

เข้าร่วมจัดกิจกรรมวันแรงงานแห่งชาติ พร้อมติดตามเรียกร้องในวันกรรมกรสากล โดยรวมตัวที่รัฐสภา และจะเคลื่อนไปทำกิจกรรม ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ตั้งแต่เวลา 08.30 - 12.00 น. พร้อมติดตาม ข้อเรียกร้องในวันกรรมกรสากล 1 พ.ค. 2559 ที่ได้มายื่น ถึงไอ้ตูบประยุทธ์ จันทรโอชาแล้ว เมื่อ 19 เม.ย.58 โดยมีข้อเรียกร้อง คือ 

รัฐบาลทรราช คสช.ต้องให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 ต้องยกเลิกนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจทุกรูปแบบ ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาการวางมาตรการอย่างเข้มข้นต่อการละเมิดสิทธิแรงงาน ต้องกำหนดค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม ต้องปฏิรูประบบประกันสังคมให้เป็นองค์กรอิสระ และรัฐบาลต้องดำเนินการจัดตั้งธนาคารแรงงาน ให้เป็นของผู้ใช้แรงงาน

เสรีชน


กรรมชน ....วันนี้เราได้อะไรจากการทำรัฐประหาร

กรรมชน ....วันนี้เราได้อะไรจากการทำรัฐประหาร 

-------------------------------------------------------------------------------------
กลุ่มสมาพันธ์แรงงานฯ 

เข้าร่วมจัดกิจกรรมวันแรงงานแห่งชาติ พร้อมติดตามเรียกร้องในวันกรรมกรสากล โดยรวมตัวที่รัฐสภา และจะเคลื่อนไปทำกิจกรรม ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ตั้งแต่เวลา 08.30 - 12.00 น. พร้อมติดตาม ข้อเรียกร้องในวันกรรมกรสากล 1 พ.ค. 2559 ที่ได้มายื่น ถึงไอ้ตูบประยุทธ์ จันทรโอชาแล้ว เมื่อ 19 เม.ย.58 โดยมีข้อเรียกร้อง คือ 

รัฐบาลทรราช คสช.ต้องให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 ต้องยกเลิกนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจทุกรูปแบบ ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาการวางมาตรการอย่างเข้มข้นต่อการละเมิดสิทธิแรงงาน ต้องกำหนดค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม ต้องปฏิรูประบบประกันสังคมให้เป็นองค์กรอิสระ และรัฐบาลต้องดำเนินการจัดตั้งธนาคารแรงงาน ให้เป็นของผู้ใช้แรงงาน

เสรีชน


กรรมชน ....วันนี้เราได้อะไรจากการทำรัฐประหาร

กรรมชน ....วันนี้เราได้อะไรจากการทำรัฐประหาร 

-------------------------------------------------------------------------------------
กลุ่มสมาพันธ์แรงงานฯ 

เข้าร่วมจัดกิจกรรมวันแรงงานแห่งชาติ พร้อมติดตามเรียกร้องในวันกรรมกรสากล โดยรวมตัวที่รัฐสภา และจะเคลื่อนไปทำกิจกรรม ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ตั้งแต่เวลา 08.30 - 12.00 น. พร้อมติดตาม ข้อเรียกร้องในวันกรรมกรสากล 1 พ.ค. 2559 ที่ได้มายื่น ถึงไอ้ตูบประยุทธ์ จันทรโอชาแล้ว เมื่อ 19 เม.ย.58 โดยมีข้อเรียกร้อง คือ 

รัฐบาลทรราช คสช.ต้องให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ 87 และ 98 ต้องยกเลิกนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจทุกรูปแบบ ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาการวางมาตรการอย่างเข้มข้นต่อการละเมิดสิทธิแรงงาน ต้องกำหนดค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม ต้องปฏิรูประบบประกันสังคมให้เป็นองค์กรอิสระ และรัฐบาลต้องดำเนินการจัดตั้งธนาคารแรงงาน ให้เป็นของผู้ใช้แรงงาน

เสรีชน