PPD's Official Website

Tuesday, May 31, 2016

นายกฯลั่นบ้านเมืองไม่เรียบร้อยจะไม่ไปไหน

วัดพระธรรมกายยืนยัน "พระธัมมชโย" ยังอยู่ในวัด

สุวิทย์ (อัณฑะอิสระ) กับ ไพบูลน์​ นิติตะวัน คือ หัวหอก ทิ่ม พระธัมมชโย

เครดิตจากไลน์

ต้องยอมรับว่า ความแข็งขันในการเข้าไปจัดการกับ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) มีแรงผลักดันอย่างสำคัญมาจากอย่างน้อย 2 คน

 1 พระสุวิทย์ ธีรธัมโม และ 1 นายไพบูลย์ นิติตะวัน

 และเมื่อสถานการณ์ทวีความร้อนแรงเข้มข้นก็ได้ นพ.มโน เลาหวณิช มาช่วยแต่งแต้มและสร้างความคึกคักขึ้นมาอย่างเข้มข้น

 พระสุวิทย์ ธีรธัมโม มีสายสัมพันธ์แนบแน่นกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

 นายไพบูลย์ นิติตะวัน เติบใหญ่และแสดงบทบาททางการเมืองประสานและร่วมมือกับกลุ่ม "40 ส.ว." มาอย่างต่อเนื่อง

 ต่อเนื่องจากรัฐประหาร 2549 กระทั่งรัฐประหาร 2557

 วิทยายุทธ์ทุกอย่างอันสะสมมากับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและกปปส.ล้วนปรากฏผ่านกระแสผลักดันมาโดยตลอด

 กระทั่งอยู่ในมือ "ดีเอสไอ" เต็มพิกัด

 ในเบื้องต้นกรณีของ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) ก็เหมือนกับเป็นเรื่องของคดีความแท้ๆ นั่นก็คือ คดีอันเกี่ยวกับการฟอกเงิน และคดีอันเกี่ยวกับการรับของโจร

 แต่พลันที่มีการดึง "มหาเถรสมาคม" (มส.) เข้ามา

 และพลันที่มีการดึง "สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ" (พศ.) เข้ามาเพื่อแสดงบทบาทมากยิ่งขึ้นก็เริ่มมีกระแสอำมหิตทางการเมืองปรากฏชัด

 เพราะมีการเอ่ยถึง สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ)

 1 ในสถานะที่เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานกรรมการมหาเถรสมาคม และ 1 ในสถานะแห่งพระอุปัชฌาย์ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) จึงอยู่ในฐานะที่นำเจ้าหน้าที่เข้าไปในวัดพระธรรมกายและจับกุม พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย)

 เท่ากับโยนเผือกร้อนให้กับ "สมเด็จช่วง"

 หากฟังจากความเห็นไม่ว่าจะมาจาก นพ.มโน เลาหวณิช ไม่ว่าจะมาจาก นายวันชัย สอนศิริ ก็จะมองเห็นถึงความสัมพันธ์ของเรื่องราว

 1 เรื่องของ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย)

 1 เรื่องของ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ) อันมติของมหาเถรสมาคมให้เสนอชื่อเพื่อนำไปสู่การสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช

 จึงกลายเป็นคนละเรื่องเดียวกันขึ้นมา

 ทำให้เกิดนัยประหวัดไปยังกรณีรถโบราณของพิพิธภัณฑ์วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ และโยงเข้ามายังกรณี พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย)

 ทั้งหมดนี้ล้วนอยู่ในความรับผิดชอบของ "ดีเอสไอ"

 ไม่ว่าจะเน้นอย่างหนักแน่นว่า คดีของ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) เป็นเรื่องรับของโจร เรื่องฟอกเงิน

 แต่ในแต่ละจังหวะก้าวอันกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เคลื่อนไหวทำให้ทั้งเรื่อง สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ) กับเรื่อง พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) เป็นเรื่องเดียวกัน

 เป็นเรื่อง "การเมือง" อันแฝงพลัง "อำมหิต" เต็มเปี่ยม

สุวิทย์ (อัณฑะอิสระ) กับ ไพบูลน์​ นิติตะวัน คือ หัวหอก ทิ่ม พระธัมมชโย

เครดิตจากไลน์

ต้องยอมรับว่า ความแข็งขันในการเข้าไปจัดการกับ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) มีแรงผลักดันอย่างสำคัญมาจากอย่างน้อย 2 คน

 1 พระสุวิทย์ ธีรธัมโม และ 1 นายไพบูลย์ นิติตะวัน

 และเมื่อสถานการณ์ทวีความร้อนแรงเข้มข้นก็ได้ นพ.มโน เลาหวณิช มาช่วยแต่งแต้มและสร้างความคึกคักขึ้นมาอย่างเข้มข้น

 พระสุวิทย์ ธีรธัมโม มีสายสัมพันธ์แนบแน่นกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

 นายไพบูลย์ นิติตะวัน เติบใหญ่และแสดงบทบาททางการเมืองประสานและร่วมมือกับกลุ่ม "40 ส.ว." มาอย่างต่อเนื่อง

 ต่อเนื่องจากรัฐประหาร 2549 กระทั่งรัฐประหาร 2557

 วิทยายุทธ์ทุกอย่างอันสะสมมากับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและกปปส.ล้วนปรากฏผ่านกระแสผลักดันมาโดยตลอด

 กระทั่งอยู่ในมือ "ดีเอสไอ" เต็มพิกัด

 ในเบื้องต้นกรณีของ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) ก็เหมือนกับเป็นเรื่องของคดีความแท้ๆ นั่นก็คือ คดีอันเกี่ยวกับการฟอกเงิน และคดีอันเกี่ยวกับการรับของโจร

 แต่พลันที่มีการดึง "มหาเถรสมาคม" (มส.) เข้ามา

 และพลันที่มีการดึง "สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ" (พศ.) เข้ามาเพื่อแสดงบทบาทมากยิ่งขึ้นก็เริ่มมีกระแสอำมหิตทางการเมืองปรากฏชัด

 เพราะมีการเอ่ยถึง สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ)

 1 ในสถานะที่เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานกรรมการมหาเถรสมาคม และ 1 ในสถานะแห่งพระอุปัชฌาย์ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) จึงอยู่ในฐานะที่นำเจ้าหน้าที่เข้าไปในวัดพระธรรมกายและจับกุม พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย)

 เท่ากับโยนเผือกร้อนให้กับ "สมเด็จช่วง"

 หากฟังจากความเห็นไม่ว่าจะมาจาก นพ.มโน เลาหวณิช ไม่ว่าจะมาจาก นายวันชัย สอนศิริ ก็จะมองเห็นถึงความสัมพันธ์ของเรื่องราว

 1 เรื่องของ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย)

 1 เรื่องของ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ) อันมติของมหาเถรสมาคมให้เสนอชื่อเพื่อนำไปสู่การสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช

 จึงกลายเป็นคนละเรื่องเดียวกันขึ้นมา

 ทำให้เกิดนัยประหวัดไปยังกรณีรถโบราณของพิพิธภัณฑ์วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ และโยงเข้ามายังกรณี พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย)

 ทั้งหมดนี้ล้วนอยู่ในความรับผิดชอบของ "ดีเอสไอ"

 ไม่ว่าจะเน้นอย่างหนักแน่นว่า คดีของ พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) เป็นเรื่องรับของโจร เรื่องฟอกเงิน

 แต่ในแต่ละจังหวะก้าวอันกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เคลื่อนไหวทำให้ทั้งเรื่อง สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ) กับเรื่อง พระเทพญาณมหามุนี (ธัมมชโย) เป็นเรื่องเดียวกัน

 เป็นเรื่อง "การเมือง" อันแฝงพลัง "อำมหิต" เต็มเปี่ยม

ธรรมกายแถลงDSIออกหมายจับพระธัมมชโยละเมิดกม.

ประกาศ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ที่ 25/2559 เรื่อง ยกเลิกการห้ามบุคคลเดินทางออกนอกราชอาณาจักร

ประกาศ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ที่ 25/2559

เรื่อง ยกเลิกการห้ามบุคคลเดินทางออกนอกราชอาณาจักร 

ความว่า
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ส่งเสริมความรักและความสามัคคี ของประชาชนในชาติ อันจะทำให้กระบวนการปฏิรูปประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับในห้วงที่ผ่านมารัฐบาลได้รับความร่วมมือจากประชาชนโดยปฏิบัติตามมาตรการบางอย่างที่กำหนดขึ้นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย ส่งผลให้สถานการณ์ของประเทศโดยรวมอยู่ในสภาวะสงบจึงสมควรยกเลิกมาตรการดังกล่าวได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
ดังนี้ 1. ให้ยกเลิกประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 21/2557 เรื่อง ห้ามบุคคลเดินทางออกนอกราชอาณาจักร ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2557
2.การยกเลิกประกาศตามข้อ 1 ไม่กระทบกระเทือนถึงการปฏิบัติตามคำสั่งศาลเกี่ยวกับการเดินทางออกนอกราชอาณาจักร และคำสั่งคสช.เกี่ยวกับการให้บุคคลมารายงานตัว รวมทั้งการกำหนดวันเวลาและสถานที่รายงานตัว
3.บุคคลใดที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งดังต่อไปนี้ หากจะเดินทางออกนอกราชอาณาจักร ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติก่อน
(1) ประกาศคสช. ฉบับที่ 39/2557 เรื่อง การกำหนดเงื่อนไข การปล่อยตัวของบุคคลที่มารายงานตัวต่อคสช. ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2557
(2)ประกาศคสช. ฉบับที่ 40/2557 เรื่อง การกำหนดเงื่อนไขการปล่อยตัว ของบุคคลที่ถูกกักตัวตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 15 ทวิ ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2557
(3)ประกาศคสช. ฉบับที่ 41/2557 เรื่อง กำหนดให้การฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเรียกบุคคลให้มารายงานตัว เป็นความผิด ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2557
(4) คำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ ลงวันที่ 1 เมษายน 2558 ความในวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับกับบุคคลที่เคยมีพฤติกรรมฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งดังกล่าวด้วย
โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน เป็นต้นไป

ประกาศ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ที่ 25/2559 เรื่อง ยกเลิกการห้ามบุคคลเดินทางออกนอกราชอาณาจักร

ประกาศ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ที่ 25/2559

เรื่อง ยกเลิกการห้ามบุคคลเดินทางออกนอกราชอาณาจักร 

ความว่า
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ส่งเสริมความรักและความสามัคคี ของประชาชนในชาติ อันจะทำให้กระบวนการปฏิรูปประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับในห้วงที่ผ่านมารัฐบาลได้รับความร่วมมือจากประชาชนโดยปฏิบัติตามมาตรการบางอย่างที่กำหนดขึ้นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย ส่งผลให้สถานการณ์ของประเทศโดยรวมอยู่ในสภาวะสงบจึงสมควรยกเลิกมาตรการดังกล่าวได้อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557
ดังนี้ 1. ให้ยกเลิกประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 21/2557 เรื่อง ห้ามบุคคลเดินทางออกนอกราชอาณาจักร ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2557
2.การยกเลิกประกาศตามข้อ 1 ไม่กระทบกระเทือนถึงการปฏิบัติตามคำสั่งศาลเกี่ยวกับการเดินทางออกนอกราชอาณาจักร และคำสั่งคสช.เกี่ยวกับการให้บุคคลมารายงานตัว รวมทั้งการกำหนดวันเวลาและสถานที่รายงานตัว
3.บุคคลใดที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งดังต่อไปนี้ หากจะเดินทางออกนอกราชอาณาจักร ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติก่อน
(1) ประกาศคสช. ฉบับที่ 39/2557 เรื่อง การกำหนดเงื่อนไข การปล่อยตัวของบุคคลที่มารายงานตัวต่อคสช. ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2557
(2)ประกาศคสช. ฉบับที่ 40/2557 เรื่อง การกำหนดเงื่อนไขการปล่อยตัว ของบุคคลที่ถูกกักตัวตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 มาตรา 15 ทวิ ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2557
(3)ประกาศคสช. ฉบับที่ 41/2557 เรื่อง กำหนดให้การฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเรียกบุคคลให้มารายงานตัว เป็นความผิด ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2557
(4) คำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ ลงวันที่ 1 เมษายน 2558 ความในวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับกับบุคคลที่เคยมีพฤติกรรมฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งดังกล่าวด้วย
โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน เป็นต้นไป