PPD's Official Website
- Home
- สถานียูทูปมหาวิทยาลัยประชาชน
- เว็บมหาวิทยาลัยประชาชน
- ภาคีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชน
- “เป้าหมายการปฏิวัติแบบ มดแดงล้มช้าง”
- Ideology: อุดมการณ์มดแดง
- มดแดงล้มช้างคืออะไร?
- สถานียูทูปมหาวิทยาลัยประชาชน
- ติดตามทางเฟสบุ๊ค
- การก่อตั้ง คณะราษฎรเพื่อสาธารณรัฐสยาม
- ร่วมโหวตชื่อขององค์การปวงชนชาวไทย
- หัวใจสำคัญของแนวทางปฏิวัติมดแดงล้มช้าง
- หลักสำคัญสู่ชัยชนะเหนือเผด็จการไทย
- คำประกาศเพื่อการปฎิวัติระบอบการปกครอง 18 ก.พ. 2555
- การสมัครเข้าร่วมปฏิวัติประชาชน
- คำประกาศสถานีวิทยุมหาวิทยาลัยประชาชน
- ถ่ายทอดสด ทางยูทูปมหาวิทยาลัยประชาชน
- จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยประชาชน
- โครงการต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยประชาชน
- เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยประชาชน
- บัญญัติสิบประการ "มดแดงล้มช้าง"
- Missions: พันธกิจ มดแดง
Monday, August 22, 2016
17 แดง “พรรคปฏิวัติ” คือใคร? จากมุมมอง คมชัดลึก
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
หลังเกิดเหตุระเบิดใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ทหารได้ควบคุมตัว "คนเสื้อแดง" จากทั่วประเทศมาควบคุมตัวไว้ที่มณฑลทหารบกที่ 11 (มทบ.11)
เพื่อหาข้อมูลว่า พวกเขาเกี่ยวข้องกับการก่อวินาศกรรมดังกล่าวหรือไม่?
วันที่ 18 ส.ค.ที่ศาลทหารกรุงเทพ พนักงานสอบสวนกองปราบปราม ได้นำพยานหลักฐานไปขออนุมัติหมายจับที่ศาลทหารกรุงเทพฯ เพื่อจับกุม 17 ผู้ที่ทหารควบคุมตัวไว้ ซึ่งพนักงานสอบสวนได้แจ้งข้อกล่าวหาตาม มาตรา 209 ตามประมวลกฎหมาย ป.วิอาญา ข้อหาการกระทำผิดอั้งยี่ และฝ่าฝืนคำสั่ง คสช. ที่ 3/2558 ว่าด้วยการชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน ทั้งนี้ผู้ต้องสงสัยที่อยู่ในการควบคุมทั้งหมด 17 คน
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
จากการสอบสวนผู้ต้องหาทั้ง 17 คน ซึ่งถูกควบคุมตัวที่มณฑลทหารบกที่ 11 (มทบ.11) ทราบว่า พวกเขาเป็นสมาชิกของ"พรรคปฏิวัติเพื่อประชาธิปไตย" หรือ "แนวร่วมปฏิวัติเพื่อประชาธิปไตย" (นปป.) ซึ่งเป็นกลุ่มใหม่ มีแนวคิดต่อสู้ทางการเมืองกับอำนาจรัฐ
จากการตรวจสอบปูมหลังของผู้ต้องหาคดีอั้งยี่ซ่องโจร จำแนนออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มนักทฤษฎีภาคใต้
ตัวละครหลักมี 2 คน คือ ประพาส โรจนพิทักษ์ อายุ 67 ปี ชาว จ.ตรัง ที่ถูกควบคุมตัวเข้าค่ายทหารเป็นคนแรก พร้อมกับหนังสือชื่อ "คู่มือการต่อสู้ของคนเสื้อแดง"
"ประพาส" เป็นสานุศิษย์ประเสริฐ ทรัพยสุนทร อดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) และเป็นนักเคลื่อนไหวการเมืองภาคประชาชนในพื้นที่ตรัง-พัทลุง-สตูล
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
อีกคนหนึ่ง ปราโมทย์ สังหาญ อายุ 63 ปี ชาว จ.สตูล อดีตรองผู้อำนวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมสตูล และเป็นแกนนำเสื้อแดงสตูล พร้อมกับเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสมาพันธุ์ประชาธิปไตยภาคใต้
ที่ฝ่ายความมั่นคงให้ความสนใจคือ ด.ต.ศิริรัตน์ มโนรัตน์ อายุ 71 ปี หรือฉายา "ปู่เล็ก" เป็นชาวพัทลุง แต่มีบ้านพักอยู่ใน จ.นนทบุรี
"ปู่เล็ก" เป็นแดงอุดมการณ์ ที่มีการเคลื่อนไหวจัดตั้งและให้การศึกษาทางทฤษฎีการเมือง
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
ส่วนคนอื่นๆ เป็นแนวร่วม นปช. อาทิ วิเชียร เจียมสวัสดิ์ อายุ 59 ปี ชาว จ.นครศรีธรรมราช และ วิโรจน์ ยอดเจริญ อายุ 67 ปี ชาว จ.นครศรีธรรมราช
กลุ่มแนวร่วมเสื้อแดง
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
ผู้ต้องหากลุ่มนี้ เป็นแนวร่วมเสื้อแดง ที่มีชื่อเสียงในท้องถิ่นอาทิ ชินวร ทิพย์นวล อายุ 71 ปี ชาว จ.เชียงราย แกนนำแดงเชียงราย, ณรงค์ ผดุงศักดิ์ อายุ 60 ปี ชาว จ.อ่างทอง แกนนำแดงอ่างทอง และ "ดอน" ศรวัชษ์ กุระจินดา อายุ 60 ปี ชาว จ.มหาสารคาม แนวร่วมแดงฮาร์ดคอร์
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
ส่วนที่ถูกระบุว่าเป็นแดงฮาร์ดคอร์ ประกอบด้วย วีระชัฏฐ์ จันทร์สะอาด อายุ 62 ปี ชาวจ.นนทบุรี ,สรศักดิ์ ดิษปรีชา อายุ 49 ปี ชาว กทม.,เหนือไพร เซ็นกลาง อายุ 41 ปี และ บุญภพ เวียงสมุทร อายุ 61 ปี ชาว จ.เชียงราย
ส่วน มีนา แสงศรี อายุ 39 ปี เป็นแม่ค้าขายน้ำพริก อยู่ย่านสวนหลวง
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
กลุ่มญาติผู้ต้องหาคดีขอนแก่นโมเดล
ผู้ต้องหาชื่อ รุจิยา เสาสมภพ อายุ 52 ปี ชาว จ.ร้อยเอ็ด นั้นเป็นภรรยาของผู้ต้องหาคดีขอนแก่นโมเดล ซึ่งหลบหนีคดีอยู่ในประเทศเพื่อนบ้าน
ส่วน ร.ต.ต.หญิง วิลัยวรรณ คูณสวัสดิ์ อายุ 54 ปี ชาวจ.หนองคาย และ ร.ต.ท.สมัย คูณสวัสดิ์ อายุ 57 ปี ชาวจ.หนองคาย เป็นพี่สาวพี่เขยของ "รุจิยา" โดยพวกเขาถูกควบคุมตัวมาจากหนองคาย
17 แดง “พรรคปฏิวัติ” คือใคร? จากมุมมอง คมชัดลึก
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
หลังเกิดเหตุระเบิดใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ทหารได้ควบคุมตัว "คนเสื้อแดง" จากทั่วประเทศมาควบคุมตัวไว้ที่มณฑลทหารบกที่ 11 (มทบ.11)
เพื่อหาข้อมูลว่า พวกเขาเกี่ยวข้องกับการก่อวินาศกรรมดังกล่าวหรือไม่?
วันที่ 18 ส.ค.ที่ศาลทหารกรุงเทพ พนักงานสอบสวนกองปราบปราม ได้นำพยานหลักฐานไปขออนุมัติหมายจับที่ศาลทหารกรุงเทพฯ เพื่อจับกุม 17 ผู้ที่ทหารควบคุมตัวไว้ ซึ่งพนักงานสอบสวนได้แจ้งข้อกล่าวหาตาม มาตรา 209 ตามประมวลกฎหมาย ป.วิอาญา ข้อหาการกระทำผิดอั้งยี่ และฝ่าฝืนคำสั่ง คสช. ที่ 3/2558 ว่าด้วยการชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน ทั้งนี้ผู้ต้องสงสัยที่อยู่ในการควบคุมทั้งหมด 17 คน
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
จากการสอบสวนผู้ต้องหาทั้ง 17 คน ซึ่งถูกควบคุมตัวที่มณฑลทหารบกที่ 11 (มทบ.11) ทราบว่า พวกเขาเป็นสมาชิกของ"พรรคปฏิวัติเพื่อประชาธิปไตย" หรือ "แนวร่วมปฏิวัติเพื่อประชาธิปไตย" (นปป.) ซึ่งเป็นกลุ่มใหม่ มีแนวคิดต่อสู้ทางการเมืองกับอำนาจรัฐ
จากการตรวจสอบปูมหลังของผู้ต้องหาคดีอั้งยี่ซ่องโจร จำแนนออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มนักทฤษฎีภาคใต้
ตัวละครหลักมี 2 คน คือ ประพาส โรจนพิทักษ์ อายุ 67 ปี ชาว จ.ตรัง ที่ถูกควบคุมตัวเข้าค่ายทหารเป็นคนแรก พร้อมกับหนังสือชื่อ "คู่มือการต่อสู้ของคนเสื้อแดง"
"ประพาส" เป็นสานุศิษย์ประเสริฐ ทรัพยสุนทร อดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) และเป็นนักเคลื่อนไหวการเมืองภาคประชาชนในพื้นที่ตรัง-พัทลุง-สตูล
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
อีกคนหนึ่ง ปราโมทย์ สังหาญ อายุ 63 ปี ชาว จ.สตูล อดีตรองผู้อำนวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมสตูล และเป็นแกนนำเสื้อแดงสตูล พร้อมกับเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสมาพันธุ์ประชาธิปไตยภาคใต้
ที่ฝ่ายความมั่นคงให้ความสนใจคือ ด.ต.ศิริรัตน์ มโนรัตน์ อายุ 71 ปี หรือฉายา "ปู่เล็ก" เป็นชาวพัทลุง แต่มีบ้านพักอยู่ใน จ.นนทบุรี
"ปู่เล็ก" เป็นแดงอุดมการณ์ ที่มีการเคลื่อนไหวจัดตั้งและให้การศึกษาทางทฤษฎีการเมือง
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
ส่วนคนอื่นๆ เป็นแนวร่วม นปช. อาทิ วิเชียร เจียมสวัสดิ์ อายุ 59 ปี ชาว จ.นครศรีธรรมราช และ วิโรจน์ ยอดเจริญ อายุ 67 ปี ชาว จ.นครศรีธรรมราช
กลุ่มแนวร่วมเสื้อแดง
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
ผู้ต้องหากลุ่มนี้ เป็นแนวร่วมเสื้อแดง ที่มีชื่อเสียงในท้องถิ่นอาทิ ชินวร ทิพย์นวล อายุ 71 ปี ชาว จ.เชียงราย แกนนำแดงเชียงราย, ณรงค์ ผดุงศักดิ์ อายุ 60 ปี ชาว จ.อ่างทอง แกนนำแดงอ่างทอง และ "ดอน" ศรวัชษ์ กุระจินดา อายุ 60 ปี ชาว จ.มหาสารคาม แนวร่วมแดงฮาร์ดคอร์
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
ส่วนที่ถูกระบุว่าเป็นแดงฮาร์ดคอร์ ประกอบด้วย วีระชัฏฐ์ จันทร์สะอาด อายุ 62 ปี ชาวจ.นนทบุรี ,สรศักดิ์ ดิษปรีชา อายุ 49 ปี ชาว กทม.,เหนือไพร เซ็นกลาง อายุ 41 ปี และ บุญภพ เวียงสมุทร อายุ 61 ปี ชาว จ.เชียงราย
ส่วน มีนา แสงศรี อายุ 39 ปี เป็นแม่ค้าขายน้ำพริก อยู่ย่านสวนหลวง
17 แดง "พรรคปฏิวัติ" คือใคร?
กลุ่มญาติผู้ต้องหาคดีขอนแก่นโมเดล
ผู้ต้องหาชื่อ รุจิยา เสาสมภพ อายุ 52 ปี ชาว จ.ร้อยเอ็ด นั้นเป็นภรรยาของผู้ต้องหาคดีขอนแก่นโมเดล ซึ่งหลบหนีคดีอยู่ในประเทศเพื่อนบ้าน
ส่วน ร.ต.ต.หญิง วิลัยวรรณ คูณสวัสดิ์ อายุ 54 ปี ชาวจ.หนองคาย และ ร.ต.ท.สมัย คูณสวัสดิ์ อายุ 57 ปี ชาวจ.หนองคาย เป็นพี่สาวพี่เขยของ "รุจิยา" โดยพวกเขาถูกควบคุมตัวมาจากหนองคาย
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ราชกิจจา-1024x576
วันที่: 22 ส.ค. 59 เวลา: 18:03 น.
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้ (22 ส.ค.) เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ คําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 49/2559 เรื่อง มาตรการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย ระบุว่า โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเกือบทุกฉบับที่มีมาในอดีตและฉบับที่ได้รับความเห็นชอบ ในการออกเสียงประชามติ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งจะประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศในเร็วๆ นี้ ต่างบัญญัติรับรองว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาและมีเสรีภาพในการปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน ดังนั้น รัฐธรรมนูญจึงได้กําหนดแนวนโยบาย แห่งรัฐว่า รัฐพึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ซึ่งในประวัติการปกครองของประเทศไทยพระมหากษัตริย์และทางราชการได้อุปถัมภ์บํารุง และอารักขาคุ้มครองศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์เสมอมา ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือ การปฏิบัติพิธีกรรม ตลอดจนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนของทุกศาสนา การละเมิดศาสนวัตถุ ศาสนสถานอันเป็นการเหยียดหยามศาสนาของหมู่ชนใด การก่อความวุ่นวายในเวลามีพิธีกรรม และการแต่งกาย หรือใช้เครื่องหมายของศาสนบุคคล โดยมิชอบย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย แม้แต่การละเมิดจารีตประเพณี ทางศาสนาใด ๆ ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่สังคมตําหนิติเตียน หากผู้กระทําเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ย่อมมีความผิดทางวินัย นอกจากนั้น ยังเป็นที่ยอมรับว่า ศาสนาทั้งหลายต่างก็มีอิทธิพลเกื้อกูลวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนชาวไทย แม้แต่บรรพชนไทยในอดีตที่มีส่วนในการรักษาเอกราชอธิปไตย และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ก็ประกอบด้วยศาสนิกชนที่แม้นับถือศาสนาต่างกันแต่ก็ไม่มีปัญหาความแตกแยกเพราะมีจิตใจยึดมั่นในความเป็นชาติไทยร่วมกัน
อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ประเทศชาติกําลังต้องการความรู้รักสามัคคี ความปรองดอง และการปฏิรูปประเทศเพื่อไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ความสงบเรียบร้อย และความร่มเย็นเป็นสุข
ส่วนศาสนาก็มีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมคุณงามความดีและคุณธรรมที่ก่อให้เกิดความสงบร่มเย็น แต่กลับมีบางฝ่ายนําความแตกต่างอันเป็นปกติของสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมมาขยายความ หรือบิดเบือนให้เป็นความขัดแย้งในหมู่ศาสนิกชนทั้งที่ศาสนาเป็นเรื่องละเอียดอ่อนเพราะเกี่ยวกับ ความเชื่อความศรัทธา ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชนในชาติ จึงสมควรกําหนดมาตรการเพื่อประโยชน์ ในการปฏิรูป ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ และการป้องกันการกระทําอันเป็นการบ่อนทําลาย ความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงแห่งชาติ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมีคําสั่ง ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 การอุปถัมภ์และคุ้มครองทุกศาสนาอันเป็นที่ยอมรับของทางราชการและประชาชนชาวไทย และการส่งเสริมศาสนิกชนทั้งหลายให้มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ การสร้างความสามัคคีปรองดอง และการปฏิรูปประเทศโดยไม่ขัดต่อกฎหมายและหลักธรรมคําสอนทางศาสนาเป็นหน้าที่ของทุกหน่วยงานของรัฐ
ข้อ 2 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา โดยที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนาตามแบบเถรวาทมาช้านานดังที่วัดวาอาราม พระภิกษุ การประกอบพิธีของทางราชการ บทสวดมนต์ การศึกษา การเผยแผ่ ตลอดจนการจัดการปกครองคณะสงฆ์ล้วนเป็นไปตามแบบเถรวาท มานานหลายศตวรรษ จึงให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา และการเผยแผ่หลักธรรม คําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าวเพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเลื่อมใสศรัทธา ของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ในส่วนของการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาตามแบบมหายานไม่ว่าจะเป็นจีนนิกาย อนัมนิกายหรืออื่นใด ซึ่งได้รับการอุปถัมภ์คุ้มครองจากรัฐตลอดมา ให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าว เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเล่อมใสศรัทธาของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย
ข้อ 3 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาอื่น ได้แก่ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์ ซึ่งได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและรัฐได้ให้การอุปถัมภ์
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ราชกิจจา-1024x576
วันที่: 22 ส.ค. 59 เวลา: 18:03 น.
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้ (22 ส.ค.) เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ คําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 49/2559 เรื่อง มาตรการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย ระบุว่า โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเกือบทุกฉบับที่มีมาในอดีตและฉบับที่ได้รับความเห็นชอบ ในการออกเสียงประชามติ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งจะประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศในเร็วๆ นี้ ต่างบัญญัติรับรองว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาและมีเสรีภาพในการปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน ดังนั้น รัฐธรรมนูญจึงได้กําหนดแนวนโยบาย แห่งรัฐว่า รัฐพึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ซึ่งในประวัติการปกครองของประเทศไทยพระมหากษัตริย์และทางราชการได้อุปถัมภ์บํารุง และอารักขาคุ้มครองศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์เสมอมา ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือ การปฏิบัติพิธีกรรม ตลอดจนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนของทุกศาสนา การละเมิดศาสนวัตถุ ศาสนสถานอันเป็นการเหยียดหยามศาสนาของหมู่ชนใด การก่อความวุ่นวายในเวลามีพิธีกรรม และการแต่งกาย หรือใช้เครื่องหมายของศาสนบุคคล โดยมิชอบย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย แม้แต่การละเมิดจารีตประเพณี ทางศาสนาใด ๆ ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่สังคมตําหนิติเตียน หากผู้กระทําเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ย่อมมีความผิดทางวินัย นอกจากนั้น ยังเป็นที่ยอมรับว่า ศาสนาทั้งหลายต่างก็มีอิทธิพลเกื้อกูลวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนชาวไทย แม้แต่บรรพชนไทยในอดีตที่มีส่วนในการรักษาเอกราชอธิปไตย และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ก็ประกอบด้วยศาสนิกชนที่แม้นับถือศาสนาต่างกันแต่ก็ไม่มีปัญหาความแตกแยกเพราะมีจิตใจยึดมั่นในความเป็นชาติไทยร่วมกัน
อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ประเทศชาติกําลังต้องการความรู้รักสามัคคี ความปรองดอง และการปฏิรูปประเทศเพื่อไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ความสงบเรียบร้อย และความร่มเย็นเป็นสุข
ส่วนศาสนาก็มีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมคุณงามความดีและคุณธรรมที่ก่อให้เกิดความสงบร่มเย็น แต่กลับมีบางฝ่ายนําความแตกต่างอันเป็นปกติของสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมมาขยายความ หรือบิดเบือนให้เป็นความขัดแย้งในหมู่ศาสนิกชนทั้งที่ศาสนาเป็นเรื่องละเอียดอ่อนเพราะเกี่ยวกับ ความเชื่อความศรัทธา ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชนในชาติ จึงสมควรกําหนดมาตรการเพื่อประโยชน์ ในการปฏิรูป ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ และการป้องกันการกระทําอันเป็นการบ่อนทําลาย ความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงแห่งชาติ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมีคําสั่ง ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 การอุปถัมภ์และคุ้มครองทุกศาสนาอันเป็นที่ยอมรับของทางราชการและประชาชนชาวไทย และการส่งเสริมศาสนิกชนทั้งหลายให้มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ การสร้างความสามัคคีปรองดอง และการปฏิรูปประเทศโดยไม่ขัดต่อกฎหมายและหลักธรรมคําสอนทางศาสนาเป็นหน้าที่ของทุกหน่วยงานของรัฐ
ข้อ 2 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา โดยที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนาตามแบบเถรวาทมาช้านานดังที่วัดวาอาราม พระภิกษุ การประกอบพิธีของทางราชการ บทสวดมนต์ การศึกษา การเผยแผ่ ตลอดจนการจัดการปกครองคณะสงฆ์ล้วนเป็นไปตามแบบเถรวาท มานานหลายศตวรรษ จึงให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา และการเผยแผ่หลักธรรม คําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าวเพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเลื่อมใสศรัทธา ของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ในส่วนของการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาตามแบบมหายานไม่ว่าจะเป็นจีนนิกาย อนัมนิกายหรืออื่นใด ซึ่งได้รับการอุปถัมภ์คุ้มครองจากรัฐตลอดมา ให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าว เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเล่อมใสศรัทธาของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย
ข้อ 3 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาอื่น ได้แก่ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์ ซึ่งได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและรัฐได้ให้การอุปถัมภ์
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ราชกิจจา-1024x576
วันที่: 22 ส.ค. 59 เวลา: 18:03 น.
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้ (22 ส.ค.) เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ คําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 49/2559 เรื่อง มาตรการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย ระบุว่า โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเกือบทุกฉบับที่มีมาในอดีตและฉบับที่ได้รับความเห็นชอบ ในการออกเสียงประชามติ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งจะประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศในเร็วๆ นี้ ต่างบัญญัติรับรองว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาและมีเสรีภาพในการปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน ดังนั้น รัฐธรรมนูญจึงได้กําหนดแนวนโยบาย แห่งรัฐว่า รัฐพึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ซึ่งในประวัติการปกครองของประเทศไทยพระมหากษัตริย์และทางราชการได้อุปถัมภ์บํารุง และอารักขาคุ้มครองศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์เสมอมา ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือ การปฏิบัติพิธีกรรม ตลอดจนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนของทุกศาสนา การละเมิดศาสนวัตถุ ศาสนสถานอันเป็นการเหยียดหยามศาสนาของหมู่ชนใด การก่อความวุ่นวายในเวลามีพิธีกรรม และการแต่งกาย หรือใช้เครื่องหมายของศาสนบุคคล โดยมิชอบย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย แม้แต่การละเมิดจารีตประเพณี ทางศาสนาใด ๆ ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่สังคมตําหนิติเตียน หากผู้กระทําเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ย่อมมีความผิดทางวินัย นอกจากนั้น ยังเป็นที่ยอมรับว่า ศาสนาทั้งหลายต่างก็มีอิทธิพลเกื้อกูลวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนชาวไทย แม้แต่บรรพชนไทยในอดีตที่มีส่วนในการรักษาเอกราชอธิปไตย และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ก็ประกอบด้วยศาสนิกชนที่แม้นับถือศาสนาต่างกันแต่ก็ไม่มีปัญหาความแตกแยกเพราะมีจิตใจยึดมั่นในความเป็นชาติไทยร่วมกัน
อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ประเทศชาติกําลังต้องการความรู้รักสามัคคี ความปรองดอง และการปฏิรูปประเทศเพื่อไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ความสงบเรียบร้อย และความร่มเย็นเป็นสุข
ส่วนศาสนาก็มีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมคุณงามความดีและคุณธรรมที่ก่อให้เกิดความสงบร่มเย็น แต่กลับมีบางฝ่ายนําความแตกต่างอันเป็นปกติของสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมมาขยายความ หรือบิดเบือนให้เป็นความขัดแย้งในหมู่ศาสนิกชนทั้งที่ศาสนาเป็นเรื่องละเอียดอ่อนเพราะเกี่ยวกับ ความเชื่อความศรัทธา ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชนในชาติ จึงสมควรกําหนดมาตรการเพื่อประโยชน์ ในการปฏิรูป ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ และการป้องกันการกระทําอันเป็นการบ่อนทําลาย ความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงแห่งชาติ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมีคําสั่ง ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 การอุปถัมภ์และคุ้มครองทุกศาสนาอันเป็นที่ยอมรับของทางราชการและประชาชนชาวไทย และการส่งเสริมศาสนิกชนทั้งหลายให้มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ การสร้างความสามัคคีปรองดอง และการปฏิรูปประเทศโดยไม่ขัดต่อกฎหมายและหลักธรรมคําสอนทางศาสนาเป็นหน้าที่ของทุกหน่วยงานของรัฐ
ข้อ 2 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา โดยที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนาตามแบบเถรวาทมาช้านานดังที่วัดวาอาราม พระภิกษุ การประกอบพิธีของทางราชการ บทสวดมนต์ การศึกษา การเผยแผ่ ตลอดจนการจัดการปกครองคณะสงฆ์ล้วนเป็นไปตามแบบเถรวาท มานานหลายศตวรรษ จึงให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา และการเผยแผ่หลักธรรม คําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าวเพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเลื่อมใสศรัทธา ของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ในส่วนของการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาตามแบบมหายานไม่ว่าจะเป็นจีนนิกาย อนัมนิกายหรืออื่นใด ซึ่งได้รับการอุปถัมภ์คุ้มครองจากรัฐตลอดมา ให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าว เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเล่อมใสศรัทธาของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย
ข้อ 3 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาอื่น ได้แก่ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์ ซึ่งได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและรัฐได้ให้การอุปถัมภ์
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ด่วน! ใช้ ม.44 ขีดเส้น 3เดือน สั่งราชการ หาวิธีแก้ปัญหาคนใช้ศาสนาบิดเบือนสร้างขัดแย้ง
ราชกิจจา-1024x576
วันที่: 22 ส.ค. 59 เวลา: 18:03 น.
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้ (22 ส.ค.) เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ คําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 49/2559 เรื่อง มาตรการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย ระบุว่า โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเกือบทุกฉบับที่มีมาในอดีตและฉบับที่ได้รับความเห็นชอบ ในการออกเสียงประชามติ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งจะประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศในเร็วๆ นี้ ต่างบัญญัติรับรองว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนาและมีเสรีภาพในการปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน ดังนั้น รัฐธรรมนูญจึงได้กําหนดแนวนโยบาย แห่งรัฐว่า รัฐพึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ซึ่งในประวัติการปกครองของประเทศไทยพระมหากษัตริย์และทางราชการได้อุปถัมภ์บํารุง และอารักขาคุ้มครองศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์เสมอมา ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือ การปฏิบัติพิธีกรรม ตลอดจนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนของทุกศาสนา การละเมิดศาสนวัตถุ ศาสนสถานอันเป็นการเหยียดหยามศาสนาของหมู่ชนใด การก่อความวุ่นวายในเวลามีพิธีกรรม และการแต่งกาย หรือใช้เครื่องหมายของศาสนบุคคล โดยมิชอบย่อมเป็นความผิดตามกฎหมาย แม้แต่การละเมิดจารีตประเพณี ทางศาสนาใด ๆ ก็ถือว่าเป็นพฤติกรรมที่สังคมตําหนิติเตียน หากผู้กระทําเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ย่อมมีความผิดทางวินัย นอกจากนั้น ยังเป็นที่ยอมรับว่า ศาสนาทั้งหลายต่างก็มีอิทธิพลเกื้อกูลวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนชาวไทย แม้แต่บรรพชนไทยในอดีตที่มีส่วนในการรักษาเอกราชอธิปไตย และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ก็ประกอบด้วยศาสนิกชนที่แม้นับถือศาสนาต่างกันแต่ก็ไม่มีปัญหาความแตกแยกเพราะมีจิตใจยึดมั่นในความเป็นชาติไทยร่วมกัน
อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ประเทศชาติกําลังต้องการความรู้รักสามัคคี ความปรองดอง และการปฏิรูปประเทศเพื่อไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ความสงบเรียบร้อย และความร่มเย็นเป็นสุข
ส่วนศาสนาก็มีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมคุณงามความดีและคุณธรรมที่ก่อให้เกิดความสงบร่มเย็น แต่กลับมีบางฝ่ายนําความแตกต่างอันเป็นปกติของสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมมาขยายความ หรือบิดเบือนให้เป็นความขัดแย้งในหมู่ศาสนิกชนทั้งที่ศาสนาเป็นเรื่องละเอียดอ่อนเพราะเกี่ยวกับ ความเชื่อความศรัทธา ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชนในชาติ จึงสมควรกําหนดมาตรการเพื่อประโยชน์ ในการปฏิรูป ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ และการป้องกันการกระทําอันเป็นการบ่อนทําลาย ความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงแห่งชาติ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมีคําสั่ง ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 การอุปถัมภ์และคุ้มครองทุกศาสนาอันเป็นที่ยอมรับของทางราชการและประชาชนชาวไทย และการส่งเสริมศาสนิกชนทั้งหลายให้มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ การสร้างความสามัคคีปรองดอง และการปฏิรูปประเทศโดยไม่ขัดต่อกฎหมายและหลักธรรมคําสอนทางศาสนาเป็นหน้าที่ของทุกหน่วยงานของรัฐ
ข้อ 2 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา โดยที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนาตามแบบเถรวาทมาช้านานดังที่วัดวาอาราม พระภิกษุ การประกอบพิธีของทางราชการ บทสวดมนต์ การศึกษา การเผยแผ่ ตลอดจนการจัดการปกครองคณะสงฆ์ล้วนเป็นไปตามแบบเถรวาท มานานหลายศตวรรษ จึงให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา และการเผยแผ่หลักธรรม คําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าวเพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเลื่อมใสศรัทธา ของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ในส่วนของการอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาตามแบบมหายานไม่ว่าจะเป็นจีนนิกาย อนัมนิกายหรืออื่นใด ซึ่งได้รับการอุปถัมภ์คุ้มครองจากรัฐตลอดมา ให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมคําสอนที่ถูกต้องตามแนวทางดังกล่าว เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา สอดคล้องกับความเล่อมใสศรัทธาของผู้ที่นับถือศาสนาตามแบบนั้น ๆ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย
ข้อ 3 ในการอุปถัมภ์และคุ้มครองศาสนาอื่น ได้แก่ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซิกข์ ซึ่งได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและรัฐได้ให้การอุปถัมภ์
Subscribe to:
Posts (Atom)