PPD's Official Website

Wednesday, August 24, 2016

จนท.บุกค้น5บ.ทัวร์ศูนย์เหรียญ พบเงินหมุนเวียนนับหมื่นล้าน

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคุณดื่มน้ำมะพร้าวติดต่อกัน 7 วัน อยากรู้โปรดอ่าน!!!!!!!!

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคุณดื่มน้ำมะพร้าวติดต่อกัน 7 วัน อยากรู้โปรดอ่าน!!!!!!!! 

น้ำมะพร้าวมีสรรพคุณวิเศษตามที่หลายคนกล่าวอ้างจริงหรือไม่? คุณอาจเคยได้ยินเกี่ยวกับสารพัดประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว แต่คราวนี้คุณจะได้อ่านเกี่ยวกับข้อดีของน้ำมะพร้าวที่คุณอาจไม่เคยได้ยินมาก่อน คุณอาจไม่รู้ว่าน้ำมะพร้าวมีโครงสร้างที่เข้ากันได้ดีกับพลาสม่าที่อยู่ในกระแสเลือดของมนุษย์เรา ยิ่งไปกว่านั้นน้ำมะพร้าวยังเคยถูกนำมาใช้ในยามสงครามเพื่อชดเชยเลือดที่สูญเสียไปและสามารถช่วยชีวิตผู้คนได้อีกมากมาย 

ปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์จากน้ำมะพร้าวอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก คุณสามารถหาซื้อได้ตามตลาดทั่วไปและคุณจะทึ่งกับประโยชน์อันมหาศาลของผลไม้ประเภทนี้ แม้น้ำมะพร้าวจะมีรสชาติไม่อร่อยอย่างที่คิด แต่นี่ไม่ใช่เหตุผลที่เราจะไม่ดื่มสุดยอดน้ำล้างพิษชนิดนี้แน่นอน
จะเกิดอะไรขึ้นบ้างถ้าเราดื่มน้ำมะพร้าว? 
1. ระบบภูมิคุ้มกันของเราก็จะแข็งแกร่งขึ้น 
2. นอกจากนี้น้ำมะพร้าวยังช่วยกำจัดแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ โรคหนองใน โรคเหงือก และไวรัสที่ทำให้เกิดโรคหวัด โรคติดเชื้อต่างๆ และโรคไข้รากสาดใหญ่ได้อีกด้วย 
3. นอกจากจะเสริมสร้างพลังงานแล้วน้ำมะพร้าวยังช่วยเพิ่มการผลิตฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ แถมยังดีต่อผู้ที่ป่วยเป็นโรคไตเนื่องจากมันมีฤทธิ์ในการขับปัสสาวะโดยธรรมชาติ ทั้งทางเดินปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะจะได้รับการชำระล้างจากนั้นร่างกายจะขับสารพิษออกมา ที่น่าทึ่งคือมันสามารถสลายก้อนนิ่วได้ด้วย 
4. และเนื่องด้วยมีปริมาณเส้นใยอาหารสูงจึงดีต่อระบบย่อยอาหาร หากคุณดื่มน้ำมะพร้าวเป็นประจำมันจะไปกำจัดกรดในกระเพาะอาหาร ไม่ต้องห่วงเรื่องอ้วนด้วยเพราะน้ำมะพร้าวมีระดับไขมันที่ต่ำมากและช่วยลดความอยากอาหารของเรา 
5. หากคุณมีสิวและผิวแห้งหรือผิวมัน เพียงใช้ผ้าชุบน้ำมะพร้าวและทาลงไปบนผิวหนัง น้ำมะพร้าวจะชำระล้างสิ่งสกปรกและทำให้ผิวหนังสดชื่น ที่สำคัญมันจะช่วยเปิดรูขุมขน 
6. หากดื่มน้ำมะพร้าวผสมกับน้ำมันมะกอกก็สามารถฆ่าเชื้อโรคและกำจัดปรสิตในลำไส้ได้ ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าการดื่มน้ำมะพร้าวขณะตั้งครรภ์จะช่วยป้องกันปัญหาสุขภาพได้หลายอย่าง 

7.หากดื่มวันละหนึ่งแก้วทุกเช้าจะช่วยรักษาระดับความสมดุลของอิเล็กโทรไลต์และไม่ทำให้เป็นโรคความดันโลหิตสูง 
8. หากคุณดื่มแอลกอฮอล์ในตอนกลางคืนพอเช้ามาคุณอาจรู้สึกปวดศีรษะ ดังนั้นถ้าต้องการกำจัดอาการปวดศีรษะหรืออาการเมาค้างและชดเชยของเหลวที่สูญเสียไปคุณสามารถทำได้ด้วยการดื่มน้ำมะพร้าว 
8. ขณะเดียวกันถ้าคุณต้องการให้ผิวชุ่มชื่นและเปล่งปลั่งตลอดทั้งวัน การดื่มน้ำมะพร้าววันละแก้วก็เพียงพอแล้ว
9. นอกจากนี้หลังจากที่ออกกำลังกายมาอย่างเหน็ดเหนื่อยคุณสามารถดื่มน้ำมะพร้าวเพื่อให้ร่างกายของคุณกลับมามีพลังอีกครั้ง 
10. ทั้งช่วยเพิ่มพลังงาน เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ป้องกันแบคทีเรียและอาการติดเชื้อต่างๆ ตามด้วยน้ำหนักลด


         >_< 👍>_<

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคุณดื่มน้ำมะพร้าวติดต่อกัน 7 วัน อยากรู้โปรดอ่าน!!!!!!!!

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคุณดื่มน้ำมะพร้าวติดต่อกัน 7 วัน อยากรู้โปรดอ่าน!!!!!!!! 

น้ำมะพร้าวมีสรรพคุณวิเศษตามที่หลายคนกล่าวอ้างจริงหรือไม่? คุณอาจเคยได้ยินเกี่ยวกับสารพัดประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว แต่คราวนี้คุณจะได้อ่านเกี่ยวกับข้อดีของน้ำมะพร้าวที่คุณอาจไม่เคยได้ยินมาก่อน คุณอาจไม่รู้ว่าน้ำมะพร้าวมีโครงสร้างที่เข้ากันได้ดีกับพลาสม่าที่อยู่ในกระแสเลือดของมนุษย์เรา ยิ่งไปกว่านั้นน้ำมะพร้าวยังเคยถูกนำมาใช้ในยามสงครามเพื่อชดเชยเลือดที่สูญเสียไปและสามารถช่วยชีวิตผู้คนได้อีกมากมาย 

ปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์จากน้ำมะพร้าวอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก คุณสามารถหาซื้อได้ตามตลาดทั่วไปและคุณจะทึ่งกับประโยชน์อันมหาศาลของผลไม้ประเภทนี้ แม้น้ำมะพร้าวจะมีรสชาติไม่อร่อยอย่างที่คิด แต่นี่ไม่ใช่เหตุผลที่เราจะไม่ดื่มสุดยอดน้ำล้างพิษชนิดนี้แน่นอน
จะเกิดอะไรขึ้นบ้างถ้าเราดื่มน้ำมะพร้าว? 
1. ระบบภูมิคุ้มกันของเราก็จะแข็งแกร่งขึ้น 
2. นอกจากนี้น้ำมะพร้าวยังช่วยกำจัดแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ โรคหนองใน โรคเหงือก และไวรัสที่ทำให้เกิดโรคหวัด โรคติดเชื้อต่างๆ และโรคไข้รากสาดใหญ่ได้อีกด้วย 
3. นอกจากจะเสริมสร้างพลังงานแล้วน้ำมะพร้าวยังช่วยเพิ่มการผลิตฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ แถมยังดีต่อผู้ที่ป่วยเป็นโรคไตเนื่องจากมันมีฤทธิ์ในการขับปัสสาวะโดยธรรมชาติ ทั้งทางเดินปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะจะได้รับการชำระล้างจากนั้นร่างกายจะขับสารพิษออกมา ที่น่าทึ่งคือมันสามารถสลายก้อนนิ่วได้ด้วย 
4. และเนื่องด้วยมีปริมาณเส้นใยอาหารสูงจึงดีต่อระบบย่อยอาหาร หากคุณดื่มน้ำมะพร้าวเป็นประจำมันจะไปกำจัดกรดในกระเพาะอาหาร ไม่ต้องห่วงเรื่องอ้วนด้วยเพราะน้ำมะพร้าวมีระดับไขมันที่ต่ำมากและช่วยลดความอยากอาหารของเรา 
5. หากคุณมีสิวและผิวแห้งหรือผิวมัน เพียงใช้ผ้าชุบน้ำมะพร้าวและทาลงไปบนผิวหนัง น้ำมะพร้าวจะชำระล้างสิ่งสกปรกและทำให้ผิวหนังสดชื่น ที่สำคัญมันจะช่วยเปิดรูขุมขน 
6. หากดื่มน้ำมะพร้าวผสมกับน้ำมันมะกอกก็สามารถฆ่าเชื้อโรคและกำจัดปรสิตในลำไส้ได้ ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าการดื่มน้ำมะพร้าวขณะตั้งครรภ์จะช่วยป้องกันปัญหาสุขภาพได้หลายอย่าง 

7.หากดื่มวันละหนึ่งแก้วทุกเช้าจะช่วยรักษาระดับความสมดุลของอิเล็กโทรไลต์และไม่ทำให้เป็นโรคความดันโลหิตสูง 
8. หากคุณดื่มแอลกอฮอล์ในตอนกลางคืนพอเช้ามาคุณอาจรู้สึกปวดศีรษะ ดังนั้นถ้าต้องการกำจัดอาการปวดศีรษะหรืออาการเมาค้างและชดเชยของเหลวที่สูญเสียไปคุณสามารถทำได้ด้วยการดื่มน้ำมะพร้าว 
8. ขณะเดียวกันถ้าคุณต้องการให้ผิวชุ่มชื่นและเปล่งปลั่งตลอดทั้งวัน การดื่มน้ำมะพร้าววันละแก้วก็เพียงพอแล้ว
9. นอกจากนี้หลังจากที่ออกกำลังกายมาอย่างเหน็ดเหนื่อยคุณสามารถดื่มน้ำมะพร้าวเพื่อให้ร่างกายของคุณกลับมามีพลังอีกครั้ง 
10. ทั้งช่วยเพิ่มพลังงาน เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ป้องกันแบคทีเรียและอาการติดเชื้อต่างๆ ตามด้วยน้ำหนักลด


         >_< 👍>_<

Tuesday, August 23, 2016

คสช.​ทำผิดสนธิสัญญากับ UN จริงหรือ?

โดย อ. ธนบูลย์


ตามคำพิพากษาในคดีที่ชื่อว่า Dusan Tadic หรือ Dusko Tadic นั้น ต้องถามว่า เขาถกเถียง เรื่องอะไรกัน? และ


มีผลสะท้อนกลับมาช่วยคนไทยผู้ใฝ่รู้ ให้นำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ กับ เหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้เกิดขึ้นแล้ว ในประเทศไทย หรือ กำลัง จะเกิด ต่อไปในประเทศ อย่างไร?ู้

๑. ต้องขอให้ บทนำแก่ ท่านผู้อ่านทั้งหลายว่า ข้อเขียนของ ผมเกี่ยวกับ คดีๆนี้ นั้น เมื่อท่านได้อ่านแล้ว คิดว่าผม ยังมิได้ ให้คำตอบครบถ้วนแก่ ท่านผู้อ่านทั้งหลาย นั้น

๒. เมื่อท่าน ได้อ่านบทความเหล่านี้ ต่อไปเรื่อยๆ ท่านจะเห็นคำตอบ ที่ผมได้ตั้งไว้ ตั้งแต่ต้น ไปในตัว โดยเมื่อท่าน ได้อ่านแล้ว ขอให้คิด และ ใช้สมอง หรือ ปัญญา คิดตามไปด้วย เพราะนั่น คือปัญหาใหญ่ของ การสอนของผม ต่อ ท่านผู้อ่านทั้งหลาย

๓. ในปัญหาของคดี ที่นำมาเสนอนี้ จะเกี่ยวกับ เขตอำนาจของ ศาลอาญาพิเศษของ องค์การสหประชาชาติ ในการพิจารณา และ พิพากษา ที่จำเลยในคดี Dusan Tadic ยกขึ้น เป็น ข้อต่อสู้ที่สำคัญในคดี มีความเกี่ยวพัน กับ :

๓.๑ อำนาจของ คณะมนตรีความมั่นคง ตามกฎบัตรของ องค์การสหประชาชาติ หรือ The Charter of United Nations ซึ่งเป็น สนธิสัญญาหลายฝ่าย หรือ พหุภาคี (Multilateral Treaty) ว่า การที่คณะมนตรีความมั่นคง ได้ออกข้อบัญญัติที่ 764 ในวันที่ ๑๓ กรฎาคม ปี ค.ศ. ๑๙๙๒ ในขณะที่มีเหตุรบพุ่งกัน อย่างเป็นศัตรู (Hostilities) ในระหว่างชาวเซริบร์ กับ ชาว โครแอต, ชนกลุ่มน้อยผู้นับถือ ศาสนาอิสลาม ในแคว้นบอสเนีย อันเป็น จุดเริ่มต้นของ สงครามกลางเมือง ในแคว้นบอสเนียฯ คณะมนตรีความมั่นคงทำได้ หรือไม่?

๓.๒ ต่อมาในวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ปี ค.ศ.๑๙๙๓ คณะมนตรีความมั่นคง ได้ออกข้อบัญญัติ (Resolutions) ที่ ๘๒๗ (๑๙๙๓) ก่อตั้งศาลอาญาพิเศษของ องค์การสหประชาชาติ มาเพื่อพิจารณา และ พิพากษา คดี ที่จำเลย ต้องหาว่า ได้กระทำความผิดในทางอาญาระหว่างประเทศ ทำได้ หรือไม่?

๓.๓ ความผิดดังกล่าว เป็น ความผิดอาญาระหว่างประเทศ ตามสนธิสัญญาแห่ง กรุงเจนีวา ปี ค.ศ. ๑๙๔๙ (The Geneva Conventions, 1949) และ บรรดาสนธิสัญญาทั้งหลาย ที่เกี่ยวข้องกับ สนธิสัญญาฉบับนี้ ที่เป็น ความผิดในทางอาญาระหว่างประเทศ ตามสนธิสัญญา ที่เกิดใหม่ เช่น สนธิสัญญาว่าด้วย การทรมานฯ ปี ค.ศ. ๑๙๘๔, สนธิสัญญาแห่งกรุงเฮก ปี ค.ศ. ๑๘๙๙ - ๑๙๐๗ ฯลฯ เป็นต้น

๓.๔ ในกรณีแห่งความผิดในทางอาญาระหว่างประเทศ เช่นที่เกิดในคดีนี้ จึงมีความเกี่ยวพัน กับ หลายๆสนธิสัญญา ที่มีรัฐคู่ภาคีของ ในแต่ละสนธิสัญญา ตามที่อ้างถึงอยู่แล้ว จึงมีความจำเป็น หรือไม่? ที่ต้องออกข้อบัญญัติ (Resolutions) ที่ ๘๒๗ (๑๙๙๓) ตามออกมา และ กลายเป็นข้อต่อสู้สำคัญของ จำเลยในคดีนี้

๔. ในกรณีของ จำเลย ในคดีนี้ ที่ได้ยกข้อสู้ต่อสู้ ในคดีมาแต่ต้น โดยได้ต่อสู้ว่า สงครามกลางเมือง ที่เกิดในแคว้นบอสเนียฯ ไม่มีคุณลักษณะ ที่เป็นสงคราม ที่เกี่ยวพันกับ ต่างประเทศ (Characterized as International Conflict)

๕. ความเกี่ยวพัน กับ ต่างประเทศ นั้น จะเป็นตัวชี้ว่า จำเลยในคดีนี้ ควรต้องรับโทษในฐานที่เป็น "อาชญากรสงคราม" หรือ "war Criminal" ตามที่โจทก์ฟ้องในคดีหรือไม่? มาถึงตรงนี้ เห็นควรต้อง อธิบาย ให้ท่านผู้อ่านเข้าใจ ในข้อกฎหมายเสียก่อนว่า

๖. ในช่วงต่อของ สงครามโลกครั้งที่สอง ในห้วงเวลาของ สงคราม และ ความสงบ และสันติสุข ที่มนุษย์ส่วนใหญ่บนโลกใบนี้ โดยเฉพาะบนพื้นแผ่นดินยุโรป และ ทวีปอเมริกาเหนือ นั้น ได้แผชิญ กับ ภาพอันเลวร้าย และ หฤโหดของ สงครามโลกครั้งที่สอง นั่นคือ ภาพของการรบพุ่งกัน บนพื้นแผ่นดินยุโรป และ ในเอเซีย {กองทัพของฝ่ายสัมพันธมิตร กับ กองทัพของลูกพระอาทิตย์ ภาพการฆ่า ด้วยวิธีการล้างเผ่าพันธุ์ของมนุษยชาติ คือ ชาวยิวกว่า -๔,๐๐๐,๐๐๐ (สี่ล้าน) คน ในค่ายกักกันมนุษย์ของ พรรคนาซีเยอรมัน) บนพื้นดินยุโรป และ ภาคพื้นเอเชีย}

๗. ด้วยเหตุนี้ จึงนำมาซึ่งการก่อตั้งสนธิสัญญาฉบับสำคัญๆ ๕ ฉบับ เป็นอย่างน้อย คือ:

๗.๑ (สนธิสัญญา ) ลอนดอนชาร์เตอร์ ปี ค.ศ. 1938 หรือ London Charter, 1938 ที่บัญญัติความผิด และ โทษที่จะใช้ลง โดยศาลนูเรมเบริกก์ ตามสนธิสัญญานี้ เมื่อผู้กระทำความผิด เป็นทหาร แล้วไปกระทำการฝ่าฝืนต่อ บทบัญญัติของ ลอนดอนชาร์เตอร์ ปี ค.ศ. 1938 โทษที่จะลงก็คือ การลงโทษด้วยการประหารชีวิต ด้วยการแขวนคอสถานเดียว สนธิสัญญานี้ ยังมีผลบังคับใช้อยู่

๗.๒ หากไม่ทำการ เปิดศาลที่เมืองนูเรมเบริกก์ มาเป็นศาลพิจารณาโทษ ก็ยอมให้ชาติ หรือ รัฐคู่ภาคีสมาชิกของกฎบัตรสหประชาชาติ (โดยความยินยอมของ คณะมนตรีความมั่นคง ตั้งศาล และ เลือกตัวผู้พิพากษาร่วมผสม กับ ผู้พิพากษาที่องค์การสหประชาชาติ เลือกตั้งมาจากชาติสมาชิก โดยกระจายตามภูมิภาค มาป็นองค์คณะ ที่มีอำนาจพิจารณา และ พิพากษาโทษ ที่อาชญากรสงครามแต่ละคน ได้ก่อให้เกิดขึ้น) โดยพิจารณาโทษ โดยศาลภายในประเทศ หรือ

๗.๓ ให้ศาลโลกที่กรุงเฮก ใช้สำนักงานศาลโลก และตัวศาล ร่วมกันกับศาลในประเทศ ที่การกระทำความผิด ได้เกิดขึ้น ทำการพิจารณา และ พิพากษาแก่โทษ ที่อาชญากรสงคราม (War Criminals) แต่ละคน เราเรียกว่าใช้ หลักการ Ex - Officio หรือ Good่ Office แก่ความผิด ที่ได้กระทำความผิดลงไป อย่างที่เคยเกิดมาแล้วในอดีต คือ คดี ล็อคเคอร์บี้ (Lockerbie Case, การระเบิดเครื่องบิน Pan AM เที่ยวบินที่ 103 พร้อมผู้โดยสาร นักบิน และ ลูกเรือ เสียชีวิต ทั้งลำ จำนวนกว่า -๒๐๐ (สองร้อย) คน จนเครื่องบินตก ที่เมือง ล็อคเคอร์บี้ ในสก็อตแลนด์ ประเทศอังกฤษ

๘. ด้วยเหตุนี้ จึงต้องขอเตือนไปยัง คณะ คสช. บรรดานายทหารทั้งหลาย ในกองทัพทั้งสามของ ประเทศไทยว่า การที่ท่านแส่ สอดแทรก เข้าไปจัดการ ในเกือบทุกๆเรื่อง ที่เป็นอยู่ในเวลานี้ ตามอำนาจหน้าที่ ที่ควรเป็นของ รัฐบาลพลเรือน ตามคำสั่ง "ท่านผู้นำ" ของคณะ คสช. ท่านมีโอกาศสูงเกินกว่า -90%- ที่จะต้อง ตกเป็น ผู้ต้องหาในฐานความผิดเป็น "อาชญากรสงคราม"

๙. ตาม (สนธิสัญญา) ลอนดอนชาร์เตอร์ ปี ค.ศ. 1938 เมื่อใดก็ตามที่ คณะมนตรีความมั่นคงของ องค์การสหประชาชาติ เกิดบ้าเลือดขึ้นมา และ ประกาศใช้ อำนาจพิจารณา และ มีคำสั่ง ตามอำนาจหน้าที่ และ การใช้อำนาจ หน้าที่ของ คณะมนตรีความมั่นคง ตาม บทที่ 7 หรือ Chapter VII บทบัญญัติที่ 51 กฎบัตรของ องค์การสหประชาชาติ ฉะนั้น ขอได้โปรด "เลิกบ้าอำนาจ" ได้แล้ว จึงต้องขอเตือนสติไว้ด้วย บทความบทนี้. ................(มีต่อ)

คสช.​ทำผิดสนธิสัญญากับ UN จริงหรือ?

โดย อ. ธนบูลย์


ตามคำพิพากษาในคดีที่ชื่อว่า Dusan Tadic หรือ Dusko Tadic นั้น ต้องถามว่า เขาถกเถียง เรื่องอะไรกัน? และ


มีผลสะท้อนกลับมาช่วยคนไทยผู้ใฝ่รู้ ให้นำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ กับ เหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้เกิดขึ้นแล้ว ในประเทศไทย หรือ กำลัง จะเกิด ต่อไปในประเทศ อย่างไร?ู้

๑. ต้องขอให้ บทนำแก่ ท่านผู้อ่านทั้งหลายว่า ข้อเขียนของ ผมเกี่ยวกับ คดีๆนี้ นั้น เมื่อท่านได้อ่านแล้ว คิดว่าผม ยังมิได้ ให้คำตอบครบถ้วนแก่ ท่านผู้อ่านทั้งหลาย นั้น

๒. เมื่อท่าน ได้อ่านบทความเหล่านี้ ต่อไปเรื่อยๆ ท่านจะเห็นคำตอบ ที่ผมได้ตั้งไว้ ตั้งแต่ต้น ไปในตัว โดยเมื่อท่าน ได้อ่านแล้ว ขอให้คิด และ ใช้สมอง หรือ ปัญญา คิดตามไปด้วย เพราะนั่น คือปัญหาใหญ่ของ การสอนของผม ต่อ ท่านผู้อ่านทั้งหลาย

๓. ในปัญหาของคดี ที่นำมาเสนอนี้ จะเกี่ยวกับ เขตอำนาจของ ศาลอาญาพิเศษของ องค์การสหประชาชาติ ในการพิจารณา และ พิพากษา ที่จำเลยในคดี Dusan Tadic ยกขึ้น เป็น ข้อต่อสู้ที่สำคัญในคดี มีความเกี่ยวพัน กับ :

๓.๑ อำนาจของ คณะมนตรีความมั่นคง ตามกฎบัตรของ องค์การสหประชาชาติ หรือ The Charter of United Nations ซึ่งเป็น สนธิสัญญาหลายฝ่าย หรือ พหุภาคี (Multilateral Treaty) ว่า การที่คณะมนตรีความมั่นคง ได้ออกข้อบัญญัติที่ 764 ในวันที่ ๑๓ กรฎาคม ปี ค.ศ. ๑๙๙๒ ในขณะที่มีเหตุรบพุ่งกัน อย่างเป็นศัตรู (Hostilities) ในระหว่างชาวเซริบร์ กับ ชาว โครแอต, ชนกลุ่มน้อยผู้นับถือ ศาสนาอิสลาม ในแคว้นบอสเนีย อันเป็น จุดเริ่มต้นของ สงครามกลางเมือง ในแคว้นบอสเนียฯ คณะมนตรีความมั่นคงทำได้ หรือไม่?

๓.๒ ต่อมาในวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ปี ค.ศ.๑๙๙๓ คณะมนตรีความมั่นคง ได้ออกข้อบัญญัติ (Resolutions) ที่ ๘๒๗ (๑๙๙๓) ก่อตั้งศาลอาญาพิเศษของ องค์การสหประชาชาติ มาเพื่อพิจารณา และ พิพากษา คดี ที่จำเลย ต้องหาว่า ได้กระทำความผิดในทางอาญาระหว่างประเทศ ทำได้ หรือไม่?

๓.๓ ความผิดดังกล่าว เป็น ความผิดอาญาระหว่างประเทศ ตามสนธิสัญญาแห่ง กรุงเจนีวา ปี ค.ศ. ๑๙๔๙ (The Geneva Conventions, 1949) และ บรรดาสนธิสัญญาทั้งหลาย ที่เกี่ยวข้องกับ สนธิสัญญาฉบับนี้ ที่เป็น ความผิดในทางอาญาระหว่างประเทศ ตามสนธิสัญญา ที่เกิดใหม่ เช่น สนธิสัญญาว่าด้วย การทรมานฯ ปี ค.ศ. ๑๙๘๔, สนธิสัญญาแห่งกรุงเฮก ปี ค.ศ. ๑๘๙๙ - ๑๙๐๗ ฯลฯ เป็นต้น

๓.๔ ในกรณีแห่งความผิดในทางอาญาระหว่างประเทศ เช่นที่เกิดในคดีนี้ จึงมีความเกี่ยวพัน กับ หลายๆสนธิสัญญา ที่มีรัฐคู่ภาคีของ ในแต่ละสนธิสัญญา ตามที่อ้างถึงอยู่แล้ว จึงมีความจำเป็น หรือไม่? ที่ต้องออกข้อบัญญัติ (Resolutions) ที่ ๘๒๗ (๑๙๙๓) ตามออกมา และ กลายเป็นข้อต่อสู้สำคัญของ จำเลยในคดีนี้

๔. ในกรณีของ จำเลย ในคดีนี้ ที่ได้ยกข้อสู้ต่อสู้ ในคดีมาแต่ต้น โดยได้ต่อสู้ว่า สงครามกลางเมือง ที่เกิดในแคว้นบอสเนียฯ ไม่มีคุณลักษณะ ที่เป็นสงคราม ที่เกี่ยวพันกับ ต่างประเทศ (Characterized as International Conflict)

๕. ความเกี่ยวพัน กับ ต่างประเทศ นั้น จะเป็นตัวชี้ว่า จำเลยในคดีนี้ ควรต้องรับโทษในฐานที่เป็น "อาชญากรสงคราม" หรือ "war Criminal" ตามที่โจทก์ฟ้องในคดีหรือไม่? มาถึงตรงนี้ เห็นควรต้อง อธิบาย ให้ท่านผู้อ่านเข้าใจ ในข้อกฎหมายเสียก่อนว่า

๖. ในช่วงต่อของ สงครามโลกครั้งที่สอง ในห้วงเวลาของ สงคราม และ ความสงบ และสันติสุข ที่มนุษย์ส่วนใหญ่บนโลกใบนี้ โดยเฉพาะบนพื้นแผ่นดินยุโรป และ ทวีปอเมริกาเหนือ นั้น ได้แผชิญ กับ ภาพอันเลวร้าย และ หฤโหดของ สงครามโลกครั้งที่สอง นั่นคือ ภาพของการรบพุ่งกัน บนพื้นแผ่นดินยุโรป และ ในเอเซีย {กองทัพของฝ่ายสัมพันธมิตร กับ กองทัพของลูกพระอาทิตย์ ภาพการฆ่า ด้วยวิธีการล้างเผ่าพันธุ์ของมนุษยชาติ คือ ชาวยิวกว่า -๔,๐๐๐,๐๐๐ (สี่ล้าน) คน ในค่ายกักกันมนุษย์ของ พรรคนาซีเยอรมัน) บนพื้นดินยุโรป และ ภาคพื้นเอเชีย}

๗. ด้วยเหตุนี้ จึงนำมาซึ่งการก่อตั้งสนธิสัญญาฉบับสำคัญๆ ๕ ฉบับ เป็นอย่างน้อย คือ:

๗.๑ (สนธิสัญญา ) ลอนดอนชาร์เตอร์ ปี ค.ศ. 1938 หรือ London Charter, 1938 ที่บัญญัติความผิด และ โทษที่จะใช้ลง โดยศาลนูเรมเบริกก์ ตามสนธิสัญญานี้ เมื่อผู้กระทำความผิด เป็นทหาร แล้วไปกระทำการฝ่าฝืนต่อ บทบัญญัติของ ลอนดอนชาร์เตอร์ ปี ค.ศ. 1938 โทษที่จะลงก็คือ การลงโทษด้วยการประหารชีวิต ด้วยการแขวนคอสถานเดียว สนธิสัญญานี้ ยังมีผลบังคับใช้อยู่

๗.๒ หากไม่ทำการ เปิดศาลที่เมืองนูเรมเบริกก์ มาเป็นศาลพิจารณาโทษ ก็ยอมให้ชาติ หรือ รัฐคู่ภาคีสมาชิกของกฎบัตรสหประชาชาติ (โดยความยินยอมของ คณะมนตรีความมั่นคง ตั้งศาล และ เลือกตัวผู้พิพากษาร่วมผสม กับ ผู้พิพากษาที่องค์การสหประชาชาติ เลือกตั้งมาจากชาติสมาชิก โดยกระจายตามภูมิภาค มาป็นองค์คณะ ที่มีอำนาจพิจารณา และ พิพากษาโทษ ที่อาชญากรสงครามแต่ละคน ได้ก่อให้เกิดขึ้น) โดยพิจารณาโทษ โดยศาลภายในประเทศ หรือ

๗.๓ ให้ศาลโลกที่กรุงเฮก ใช้สำนักงานศาลโลก และตัวศาล ร่วมกันกับศาลในประเทศ ที่การกระทำความผิด ได้เกิดขึ้น ทำการพิจารณา และ พิพากษาแก่โทษ ที่อาชญากรสงคราม (War Criminals) แต่ละคน เราเรียกว่าใช้ หลักการ Ex - Officio หรือ Good่ Office แก่ความผิด ที่ได้กระทำความผิดลงไป อย่างที่เคยเกิดมาแล้วในอดีต คือ คดี ล็อคเคอร์บี้ (Lockerbie Case, การระเบิดเครื่องบิน Pan AM เที่ยวบินที่ 103 พร้อมผู้โดยสาร นักบิน และ ลูกเรือ เสียชีวิต ทั้งลำ จำนวนกว่า -๒๐๐ (สองร้อย) คน จนเครื่องบินตก ที่เมือง ล็อคเคอร์บี้ ในสก็อตแลนด์ ประเทศอังกฤษ

๘. ด้วยเหตุนี้ จึงต้องขอเตือนไปยัง คณะ คสช. บรรดานายทหารทั้งหลาย ในกองทัพทั้งสามของ ประเทศไทยว่า การที่ท่านแส่ สอดแทรก เข้าไปจัดการ ในเกือบทุกๆเรื่อง ที่เป็นอยู่ในเวลานี้ ตามอำนาจหน้าที่ ที่ควรเป็นของ รัฐบาลพลเรือน ตามคำสั่ง "ท่านผู้นำ" ของคณะ คสช. ท่านมีโอกาศสูงเกินกว่า -90%- ที่จะต้อง ตกเป็น ผู้ต้องหาในฐานความผิดเป็น "อาชญากรสงคราม"

๙. ตาม (สนธิสัญญา) ลอนดอนชาร์เตอร์ ปี ค.ศ. 1938 เมื่อใดก็ตามที่ คณะมนตรีความมั่นคงของ องค์การสหประชาชาติ เกิดบ้าเลือดขึ้นมา และ ประกาศใช้ อำนาจพิจารณา และ มีคำสั่ง ตามอำนาจหน้าที่ และ การใช้อำนาจ หน้าที่ของ คณะมนตรีความมั่นคง ตาม บทที่ 7 หรือ Chapter VII บทบัญญัติที่ 51 กฎบัตรของ องค์การสหประชาชาติ ฉะนั้น ขอได้โปรด "เลิกบ้าอำนาจ" ได้แล้ว จึงต้องขอเตือนสติไว้ด้วย บทความบทนี้. ................(มีต่อ)

ประเทศไทยจะซ่อนการกบฎไว้ใต้พรมได้จริงหรือ?

ประเทศไทยจะซ่อนการกบฎไว้ใต้พรมได้จริงหรือ?

NY Times ลงบทความ commentary วิพากษ์ปฏิกริยาของทหารต่อการก่อการร้ายในไทย อ่านแล้วน่าสนใจมาก

Matt Wheeler ผู้เขียนเริ่มต้นจากประเด็นเหตุระเบิดและเพลิงไหม้ในภาคใต้ช่วงหลังประชามติที่ผ่านมา ซึ่งเจ้าหน้าที่รัฐได้ออกมาปฏิเสธอย่างทันทีว่าไม่ใช่การก่อการร้าย และพลเอกประยุทธยังกล่าวเสริมด้วยว่าเป็นฝีมือของกลุ่มผู้เสียผลประโยชน์ทางการเมืองจากผลประชามติ

กลุ่มคนที่ถูกมองว่าเป็นศัตรูของรัฐบาล (opponents of the government) รวมถึงกลุ่มเสื้อแดงถูกจับกุม แม้ว่าการระเบิดครั้งนี้จะไม่ได้มีความคล้ายคลึงกับความรุนแรงครั้งก่อนๆ โดยฝ่ายที่นิยมทักษิณ รวมถึงว่าไม่ได้มีลักษณะเหมือนกับการระเบิดศาลพระพรหมเอราวัณเมื่อปี 2015 ด้วย 

ในทางกลับกัน การระเบิดครั้งนี้มีลักษณะเดียวกับเหตุระเบิดอื่นๆ โดยกลุ่ม BRN (กลุ่มก่อการร้ายในสามจังหวัดชายแดนใต้) โดยปกติแล้วกลุ่ม BRN ก็จะไม่ออกมาเคลมว่าเป็นผู้ลงมือ และการสืบสวนจากทางตำรวจก็ปรากฏว่าระเบิดที่ใช้เป็นแบบเดียวกับกลุ่มติดอาวุธในสามจังหวัดชายแดนใต้

ผู้เขียนกล่าวต่ออีกว่า เจ้าหน้าที่รัฐไทยมักจะใช้ขั้วตรงข้ามทางการเมืองภายในประเทศเป็นแพะรับบาปของการก่อการร้าย เช่นคดีเผาโรงเรียนสามจังหวัดในปี 1993 ถูกโยนให้ "กลุ่มอำนาจเก่า" และคดีระเบิดเกาะสมุยปี 2015 ก็ถูกอ้างว่าเป็นฝีมือของกลุ่มนักการเมืองที่สูญเสียอำนาจจากการรัฐประหาร แต่การกล่าวหาเหล่านั้นก็ไม่เคยมีหลักฐานที่จับต้องได้ และตำรวจก็เชื่อมโยงเหตุระเบิดกับสามจังหวัดชายแดนใต้ในที่สุด

คำถามที่น่าสนใจคือ ทำไมรัฐบาลทหารไทยถึงกระตือรือร้นกับการเบี่ยงความสนใจออกจากกลุ่มก่อการร้าย (และยัดเยียดความผิดให้ศัตรูทางการเมือง) ขนาดนั้น? Matt ตั้งข้อสังเกตว่าเจ้าหน้าที่รัฐกำลังปฏิเสธว่าไทยกำลังตกเป็นเป้าของการก่อการร้าย เนื่องจากต้องการรักษาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศ ที่ให้รายได้ทางอ้อมคิดเป็นราวๆ 20% ของ GDP ประเด็นที่สองคือ การนิยามให้เป็นเพียง "การก่อกวน" ก็เป็นการช่วยกลบเกลื่อนนัยยะทางการเมืองของเหตุการณ์เหล่านี้ หากยอมรับ "การก่อการร้าย" ก็เท่ากับว่าทหารไทยต้องยอมรับความล้มเหลวในการแก้ปัญหาของตนเองด้วย

นอกจากนี้ เสียงส่วนใหญ่ของทั้งสามจังหวัดยังโหวตไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด สื่อถึงการต่อต้านกองทัพและการรวมศูนย์อำนาจ 

ในตอนท้าย ผู้เขียนยังได้กล่าวเพิ่มเติมถึงเหตุผลในการขยับขยายบริเวณการก่อเหตุของกลุ่มก่อการร้ายว่า การก่อการร้ายได้สามจังหวัดเพียงอย่างเดียวไม่ได้ให้ผลลัพธ์ที่น่าพอใจอีกต่อไป นอกจากนี้ ผู้นำกลุ่ม BRN ยังได้ปฏิเสธกระบวนการเจรจาที่ไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาลทหารด้วย พวกเขามองว่ากระบวนการเหล่านี้เป็นเพียงการพูดคุยที่ปราศจากสาระของการเจรจาต่อรอง นอกจากนี้ ผลประชามติยังบ่งบอกว่า ความหวังของการเจรจากับรัฐบาลกลางที่มาจากการเลือกตั้งก็ริบหรี่เต็มที เพราะรัฐบาลทหารจะยังคงกุมอำนาจไปอีกอย่างน้อยหกปี

จากที่กล่าวมาทั้งหมด การที่กลุ่มติดอาวุธก่อเหตุครั้งล่าสุดนี้อาจบ่งบอกว่า ความขัดแย้งได้ยกระดับเข้าสู่ระยะใหม่ ซึ่งอาจเพิ่มความขัดแย้งทางศาสนา และอาจเติมเชื้อไฟให้กลุ่มติดอาวุธชาวพุทธด้วย

อาจกล่าวได้ว่าเหล่านายพลผู้บริหารประเทศนั้น "สายตาสั้น" หากพวกเขายังคงปฏิเสธการมีอยู่ของการก่อการร้ายให้กลายเป็นเพียงความขัดแย้งทางการเมืองที่ไม่มีความเชื่อมโยงกับภาคใต้ ทางที่ดีที่สุดคือการตระหนักว่ามันเป็นปัญหาทางการเมือง ที่จำเป็นต้องมีการแก้ไขทางการเมืองด้วย ซึ่งหมายถึงการให้เสรีภาพในการแสดงออกแก่ประชาชน การเจรจากับกลุ่มติดอาวุธอย่างจริงใจ และหาทางกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น

ปล. เห็นว่าน่าสนใจดีเลยแปลเล่นๆ ถ้ามีตรงไหนผิดหรือตกหล่นรบกวนชี้แนะด้วยค่ะ :)

ประเทศไทยจะซ่อนการกบฎไว้ใต้พรมได้จริงหรือ?

ประเทศไทยจะซ่อนการกบฎไว้ใต้พรมได้จริงหรือ?

NY Times ลงบทความ commentary วิพากษ์ปฏิกริยาของทหารต่อการก่อการร้ายในไทย อ่านแล้วน่าสนใจมาก

Matt Wheeler ผู้เขียนเริ่มต้นจากประเด็นเหตุระเบิดและเพลิงไหม้ในภาคใต้ช่วงหลังประชามติที่ผ่านมา ซึ่งเจ้าหน้าที่รัฐได้ออกมาปฏิเสธอย่างทันทีว่าไม่ใช่การก่อการร้าย และพลเอกประยุทธยังกล่าวเสริมด้วยว่าเป็นฝีมือของกลุ่มผู้เสียผลประโยชน์ทางการเมืองจากผลประชามติ

กลุ่มคนที่ถูกมองว่าเป็นศัตรูของรัฐบาล (opponents of the government) รวมถึงกลุ่มเสื้อแดงถูกจับกุม แม้ว่าการระเบิดครั้งนี้จะไม่ได้มีความคล้ายคลึงกับความรุนแรงครั้งก่อนๆ โดยฝ่ายที่นิยมทักษิณ รวมถึงว่าไม่ได้มีลักษณะเหมือนกับการระเบิดศาลพระพรหมเอราวัณเมื่อปี 2015 ด้วย 

ในทางกลับกัน การระเบิดครั้งนี้มีลักษณะเดียวกับเหตุระเบิดอื่นๆ โดยกลุ่ม BRN (กลุ่มก่อการร้ายในสามจังหวัดชายแดนใต้) โดยปกติแล้วกลุ่ม BRN ก็จะไม่ออกมาเคลมว่าเป็นผู้ลงมือ และการสืบสวนจากทางตำรวจก็ปรากฏว่าระเบิดที่ใช้เป็นแบบเดียวกับกลุ่มติดอาวุธในสามจังหวัดชายแดนใต้

ผู้เขียนกล่าวต่ออีกว่า เจ้าหน้าที่รัฐไทยมักจะใช้ขั้วตรงข้ามทางการเมืองภายในประเทศเป็นแพะรับบาปของการก่อการร้าย เช่นคดีเผาโรงเรียนสามจังหวัดในปี 1993 ถูกโยนให้ "กลุ่มอำนาจเก่า" และคดีระเบิดเกาะสมุยปี 2015 ก็ถูกอ้างว่าเป็นฝีมือของกลุ่มนักการเมืองที่สูญเสียอำนาจจากการรัฐประหาร แต่การกล่าวหาเหล่านั้นก็ไม่เคยมีหลักฐานที่จับต้องได้ และตำรวจก็เชื่อมโยงเหตุระเบิดกับสามจังหวัดชายแดนใต้ในที่สุด

คำถามที่น่าสนใจคือ ทำไมรัฐบาลทหารไทยถึงกระตือรือร้นกับการเบี่ยงความสนใจออกจากกลุ่มก่อการร้าย (และยัดเยียดความผิดให้ศัตรูทางการเมือง) ขนาดนั้น? Matt ตั้งข้อสังเกตว่าเจ้าหน้าที่รัฐกำลังปฏิเสธว่าไทยกำลังตกเป็นเป้าของการก่อการร้าย เนื่องจากต้องการรักษาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศ ที่ให้รายได้ทางอ้อมคิดเป็นราวๆ 20% ของ GDP ประเด็นที่สองคือ การนิยามให้เป็นเพียง "การก่อกวน" ก็เป็นการช่วยกลบเกลื่อนนัยยะทางการเมืองของเหตุการณ์เหล่านี้ หากยอมรับ "การก่อการร้าย" ก็เท่ากับว่าทหารไทยต้องยอมรับความล้มเหลวในการแก้ปัญหาของตนเองด้วย

นอกจากนี้ เสียงส่วนใหญ่ของทั้งสามจังหวัดยังโหวตไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด สื่อถึงการต่อต้านกองทัพและการรวมศูนย์อำนาจ 

ในตอนท้าย ผู้เขียนยังได้กล่าวเพิ่มเติมถึงเหตุผลในการขยับขยายบริเวณการก่อเหตุของกลุ่มก่อการร้ายว่า การก่อการร้ายได้สามจังหวัดเพียงอย่างเดียวไม่ได้ให้ผลลัพธ์ที่น่าพอใจอีกต่อไป นอกจากนี้ ผู้นำกลุ่ม BRN ยังได้ปฏิเสธกระบวนการเจรจาที่ไร้ประสิทธิภาพของรัฐบาลทหารด้วย พวกเขามองว่ากระบวนการเหล่านี้เป็นเพียงการพูดคุยที่ปราศจากสาระของการเจรจาต่อรอง นอกจากนี้ ผลประชามติยังบ่งบอกว่า ความหวังของการเจรจากับรัฐบาลกลางที่มาจากการเลือกตั้งก็ริบหรี่เต็มที เพราะรัฐบาลทหารจะยังคงกุมอำนาจไปอีกอย่างน้อยหกปี

จากที่กล่าวมาทั้งหมด การที่กลุ่มติดอาวุธก่อเหตุครั้งล่าสุดนี้อาจบ่งบอกว่า ความขัดแย้งได้ยกระดับเข้าสู่ระยะใหม่ ซึ่งอาจเพิ่มความขัดแย้งทางศาสนา และอาจเติมเชื้อไฟให้กลุ่มติดอาวุธชาวพุทธด้วย

อาจกล่าวได้ว่าเหล่านายพลผู้บริหารประเทศนั้น "สายตาสั้น" หากพวกเขายังคงปฏิเสธการมีอยู่ของการก่อการร้ายให้กลายเป็นเพียงความขัดแย้งทางการเมืองที่ไม่มีความเชื่อมโยงกับภาคใต้ ทางที่ดีที่สุดคือการตระหนักว่ามันเป็นปัญหาทางการเมือง ที่จำเป็นต้องมีการแก้ไขทางการเมืองด้วย ซึ่งหมายถึงการให้เสรีภาพในการแสดงออกแก่ประชาชน การเจรจากับกลุ่มติดอาวุธอย่างจริงใจ และหาทางกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น

ปล. เห็นว่าน่าสนใจดีเลยแปลเล่นๆ ถ้ามีตรงไหนผิดหรือตกหล่นรบกวนชี้แนะด้วยค่ะ :)