PPD's Official Website

Saturday, September 3, 2016

อาการของในหลวง ๒ กันยายน ๒๕๕๙ (ตามรายงานข่าว)... แต่ความจริงคือ.......?

คณะแพทย์ผู้ถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้รายงานสรุปพระอาการระหว่างวันที่ ๑ สิงหาคม - ๒ กันยายน ๒๕๕๙ ว่า

          ภายหลังการถวายพระโอสถปฏิชีวนะ เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ (ตามแถลงการณ์สำนักพระราชวัง ฉบับที่ ๓๑) พระอาการต่าง ๆ ดีขึ้น ในระหว่างเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ ยังมีพระปรอท (ไข้) ต่ำ ๆ นาน ๆ ครั้ง โดยไม่มีลักษณะของการติดเชื้อ จนเมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ทรงหายพระทัยเร็ว มีพระเสมหะเหนียวข้นมาก ผลการตรวจในห้องปฏิบัติการของพระเสมหะ และพระโลหิตบ่งชี้ถึงการอักเสบติดเชื้อที่รุนแรง แม้ผลเอกซเรย์พระปัปผาสะ (ปอด) ในช่วงบ่ายของวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ไม่พบการอักเสบ แต่คณะแพทย์ ฯ ได้ถวายพระโอสถปฏิชีวนะ ในช่วงเวลาค่ำความดันพระโลหิตลดต่ำลง     เริ่มมีพระปรอท (ไข้) ปริมาณพระบังคนเบา (ปัสสาวะ) น้อยลง คณะแพทย์ ฯ ได้ถวายพระโอสถเพื่อเพิ่มความดันพระโลหิต แต่พระบังคนเบา (ปัสสาวะ) ยังคงมีปริมาณน้อย





      วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๙ ทรงหายพระทัยเร็ว   พระบังคนเบา (ปัสสาวะ) ยังมีปริมาณน้อย   แม้ได้ถวายพระโอสถขับพระบังคนเบา (ปัสสาวะ) แล้ว    ผลการตรวจพระโลหิตบ่งว่าการทำงานของพระวักกะ (ไต) ลดลง ผลเอกซเรย์พระปัปผาสะ (ปอด) พบเริ่มมีน้ำคั่งในพระปัปผาสะ (ปอด)   คณะแพทย์ ฯ จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตถวายการรักษา   ด้วยการดึงน้ำออกจากพระโลหิตโดยวิธี Continuous renal replacement therapy (CRRT) เ  พื่อนำปริมาณน้ำส่วนเกินออก   คณะแพทย์ ฯ ได้เริ่มถวายการรักษาดังกล่าวตั้งแต่ช่วงบ่าย ผลเอกซเรย์พระปัปผาสะ (ปอด) ในช่วงเย็นพบน้ำคั่งในพระปัปผาสะ (ปอด) ลดลง


          วันนี้ ทรงหายพระทัยดีขึ้น ความดันพระโลหิตดีขึ้นเป็นลำดับ ไม่มีพระปรอท (ไข้) คณะแพทย์ ฯ จะเฝ้าติดตามพระอาการอย่างใกล้ชิดต่อไป

อาการของในหลวง ๒ กันยายน ๒๕๕๙ (ตามรายงานข่าว)... แต่ความจริงคือ.......?

คณะแพทย์ผู้ถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้รายงานสรุปพระอาการระหว่างวันที่ ๑ สิงหาคม - ๒ กันยายน ๒๕๕๙ ว่า

          ภายหลังการถวายพระโอสถปฏิชีวนะ เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ (ตามแถลงการณ์สำนักพระราชวัง ฉบับที่ ๓๑) พระอาการต่าง ๆ ดีขึ้น ในระหว่างเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ ยังมีพระปรอท (ไข้) ต่ำ ๆ นาน ๆ ครั้ง โดยไม่มีลักษณะของการติดเชื้อ จนเมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ทรงหายพระทัยเร็ว มีพระเสมหะเหนียวข้นมาก ผลการตรวจในห้องปฏิบัติการของพระเสมหะ และพระโลหิตบ่งชี้ถึงการอักเสบติดเชื้อที่รุนแรง แม้ผลเอกซเรย์พระปัปผาสะ (ปอด) ในช่วงบ่ายของวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ไม่พบการอักเสบ แต่คณะแพทย์ ฯ ได้ถวายพระโอสถปฏิชีวนะ ในช่วงเวลาค่ำความดันพระโลหิตลดต่ำลง     เริ่มมีพระปรอท (ไข้) ปริมาณพระบังคนเบา (ปัสสาวะ) น้อยลง คณะแพทย์ ฯ ได้ถวายพระโอสถเพื่อเพิ่มความดันพระโลหิต แต่พระบังคนเบา (ปัสสาวะ) ยังคงมีปริมาณน้อย





      วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๙ ทรงหายพระทัยเร็ว   พระบังคนเบา (ปัสสาวะ) ยังมีปริมาณน้อย   แม้ได้ถวายพระโอสถขับพระบังคนเบา (ปัสสาวะ) แล้ว    ผลการตรวจพระโลหิตบ่งว่าการทำงานของพระวักกะ (ไต) ลดลง ผลเอกซเรย์พระปัปผาสะ (ปอด) พบเริ่มมีน้ำคั่งในพระปัปผาสะ (ปอด)   คณะแพทย์ ฯ จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตถวายการรักษา   ด้วยการดึงน้ำออกจากพระโลหิตโดยวิธี Continuous renal replacement therapy (CRRT) เ  พื่อนำปริมาณน้ำส่วนเกินออก   คณะแพทย์ ฯ ได้เริ่มถวายการรักษาดังกล่าวตั้งแต่ช่วงบ่าย ผลเอกซเรย์พระปัปผาสะ (ปอด) ในช่วงเย็นพบน้ำคั่งในพระปัปผาสะ (ปอด) ลดลง


          วันนี้ ทรงหายพระทัยดีขึ้น ความดันพระโลหิตดีขึ้นเป็นลำดับ ไม่มีพระปรอท (ไข้) คณะแพทย์ ฯ จะเฝ้าติดตามพระอาการอย่างใกล้ชิดต่อไป

Friday, September 2, 2016

น้ำใจ และความเห็นแก่ตัว ของคนไทย!!

An essence of truth here. Must be corrected.

เป็นบทสนทนาสั้นๆของฝรั่ง 2 คน
ที่ดูแล้วเดาว่าน่าจะเป็น "อาจารย์"ของโรงเรียนนานาชาติแห่งหนึ่งบนถนนสุขุมวิท
ทั้งคู่คุยกันด้วยสีหน้าเบื่อหน่ายเมืองไทย
ในระหว่างนั่งรอแซนด์วิชอยู่ในร้านซับเวย์
ที่ไม่มีลูกค้าอื่นใดนอกจากผม

พวกเขาพูดเรื่องทางเท้าซึ่งในประเทศเรา
ไม่ได้ออกแบบไว้ให้"คน"เดิน

แต่มีไว้ให้พ่อค้าแม่ค้าขายของ
ไว้ให้มอเตอร์ไซค์รับจ้างขี่สวนทางและไว้จอดรถ

แล้วฝรั่งคนหนึ่งก็พูดว่า
"พื้นฐานของคนประเทศผมคือวินัย
แต่พื้นฐานของคนไทยคือความเห็นแก่ตัว"

"คนในประเทศผมจะคิดแล้วคิดอีก"
ถ้าการจอดรถของเขาทำให้ใครลำบาก
และทุกครั้งจะจบลงด้วยการบอกตัวเองว่า "ไม่จอดดีกว่า" 
หรือไม่ก็ไปจอดไกลๆ แล้วเดินย้อนมา

แต่คนไทยไม่…

คนไทยจะ "เห็นแก่ตัว" ทุกที่ที่มีจังหวะ
ไม่ว่ามันจะเป็นการจอดบนทางเท้า
บนเลนจักรยานและแม้กระทั่งปากซอย
หรือกลับรถแล้วจอดทันที
เพราะสันดานพื้นฐานของคนไทยคือ"ความเห็นแก่ตัว"
และ "บังคับให้คนอื่นต้องหลบ" 
เพื่อให้ตนเองได้รับสิทธิพิเศษหรือความสบายมากที่สุดเสมอ

เมื่อไรที่ความเห็นแก่ตัวของคนไทยไม่ได้รับการตอบสนอง
คนไทยจะเรียกหา"น้ำใจ"

เขาเคยนึกว่า"น้ำใจ"ของคนไทยช่างแสนดี

แต่วันนี้เขารู้แล้วว่า"น้ำใจ"คือข้ออ้างของความเห็นแก่ตัว

ไม่ยอมให้แซงคิวในร้านอาหาร = ไม่มีน้ำใจ

ไม่ยอมให้จอดรถซื้อของกระพริบไฟ = ไม่มีน้ำใจ
[แม้จะทำให้รถติดยาวไปอีก 3 กิโลเมตร]

ไม่ยอมหลบให้รถมอเตอร์ไซค์ที่ขี่สวนเลนบนทางเท้า = ไม่มีน้ำใจ

ฝรั่งคนหนึ่งบอกว่า"น้ำใจ"
คือภาษาไทยคำแรกๆที่เขาเรียนรู้ ตอนมาถึงประเทศนี้
แต่ปัจจุบันมันคือคำที่น่า"ขยะแขยง[Disgusting]"สำหรับเขา
เพราะมันคือการที่คนไทยจ้องจะเอาเปรียบกันทุกวิถีทาง
เท่าที่จะทำได้โดยไม่สนใจใครทั้งนั้น

ตอนผมฟังประโยคแรกว่า"พื้นฐานของคนประเทศผมคือวินัย แต่พื้นฐานของคนไทย
คือความเห็นแก่ตัว"ก็อยากจะค้านเหมือนกัน

แต่หลังจากที่พยายามคิดหาเหตุผล
สุดท้ายผมก็นั่งทานเบอร์เกอร์ต่อไปเงียบๆ
พลางนึกถึงแฟนเก่าสาวญี่ปุ่นที่เคยตกใจ
ตอนเห็นร้านก๋วยเตี๋ยวข้างทางเทน้ำแกงจากหม้อลงบนถนน
กับคำถามที่ว่า"แล้วถ้ามีหนูมีแมลงสาปมาทำรัง ใครจะรับผิดชอบ?"

และ"ทำไมเราต้องมีน้ำใจให้คนเห็นแก่ตัว"



น้ำใจ และความเห็นแก่ตัว ของคนไทย!!

An essence of truth here. Must be corrected.

เป็นบทสนทนาสั้นๆของฝรั่ง 2 คน
ที่ดูแล้วเดาว่าน่าจะเป็น "อาจารย์"ของโรงเรียนนานาชาติแห่งหนึ่งบนถนนสุขุมวิท
ทั้งคู่คุยกันด้วยสีหน้าเบื่อหน่ายเมืองไทย
ในระหว่างนั่งรอแซนด์วิชอยู่ในร้านซับเวย์
ที่ไม่มีลูกค้าอื่นใดนอกจากผม

พวกเขาพูดเรื่องทางเท้าซึ่งในประเทศเรา
ไม่ได้ออกแบบไว้ให้"คน"เดิน

แต่มีไว้ให้พ่อค้าแม่ค้าขายของ
ไว้ให้มอเตอร์ไซค์รับจ้างขี่สวนทางและไว้จอดรถ

แล้วฝรั่งคนหนึ่งก็พูดว่า
"พื้นฐานของคนประเทศผมคือวินัย
แต่พื้นฐานของคนไทยคือความเห็นแก่ตัว"

"คนในประเทศผมจะคิดแล้วคิดอีก"
ถ้าการจอดรถของเขาทำให้ใครลำบาก
และทุกครั้งจะจบลงด้วยการบอกตัวเองว่า "ไม่จอดดีกว่า" 
หรือไม่ก็ไปจอดไกลๆ แล้วเดินย้อนมา

แต่คนไทยไม่…

คนไทยจะ "เห็นแก่ตัว" ทุกที่ที่มีจังหวะ
ไม่ว่ามันจะเป็นการจอดบนทางเท้า
บนเลนจักรยานและแม้กระทั่งปากซอย
หรือกลับรถแล้วจอดทันที
เพราะสันดานพื้นฐานของคนไทยคือ"ความเห็นแก่ตัว"
และ "บังคับให้คนอื่นต้องหลบ" 
เพื่อให้ตนเองได้รับสิทธิพิเศษหรือความสบายมากที่สุดเสมอ

เมื่อไรที่ความเห็นแก่ตัวของคนไทยไม่ได้รับการตอบสนอง
คนไทยจะเรียกหา"น้ำใจ"

เขาเคยนึกว่า"น้ำใจ"ของคนไทยช่างแสนดี

แต่วันนี้เขารู้แล้วว่า"น้ำใจ"คือข้ออ้างของความเห็นแก่ตัว

ไม่ยอมให้แซงคิวในร้านอาหาร = ไม่มีน้ำใจ

ไม่ยอมให้จอดรถซื้อของกระพริบไฟ = ไม่มีน้ำใจ
[แม้จะทำให้รถติดยาวไปอีก 3 กิโลเมตร]

ไม่ยอมหลบให้รถมอเตอร์ไซค์ที่ขี่สวนเลนบนทางเท้า = ไม่มีน้ำใจ

ฝรั่งคนหนึ่งบอกว่า"น้ำใจ"
คือภาษาไทยคำแรกๆที่เขาเรียนรู้ ตอนมาถึงประเทศนี้
แต่ปัจจุบันมันคือคำที่น่า"ขยะแขยง[Disgusting]"สำหรับเขา
เพราะมันคือการที่คนไทยจ้องจะเอาเปรียบกันทุกวิถีทาง
เท่าที่จะทำได้โดยไม่สนใจใครทั้งนั้น

ตอนผมฟังประโยคแรกว่า"พื้นฐานของคนประเทศผมคือวินัย แต่พื้นฐานของคนไทย
คือความเห็นแก่ตัว"ก็อยากจะค้านเหมือนกัน

แต่หลังจากที่พยายามคิดหาเหตุผล
สุดท้ายผมก็นั่งทานเบอร์เกอร์ต่อไปเงียบๆ
พลางนึกถึงแฟนเก่าสาวญี่ปุ่นที่เคยตกใจ
ตอนเห็นร้านก๋วยเตี๋ยวข้างทางเทน้ำแกงจากหม้อลงบนถนน
กับคำถามที่ว่า"แล้วถ้ามีหนูมีแมลงสาปมาทำรัง ใครจะรับผิดชอบ?"

และ"ทำไมเราต้องมีน้ำใจให้คนเห็นแก่ตัว"



น้ำใจ และความเห็นแก่ตัว ของคนไทย!!

An essence of truth here. Must be corrected.

เป็นบทสนทนาสั้นๆของฝรั่ง 2 คน
ที่ดูแล้วเดาว่าน่าจะเป็น "อาจารย์"ของโรงเรียนนานาชาติแห่งหนึ่งบนถนนสุขุมวิท
ทั้งคู่คุยกันด้วยสีหน้าเบื่อหน่ายเมืองไทย
ในระหว่างนั่งรอแซนด์วิชอยู่ในร้านซับเวย์
ที่ไม่มีลูกค้าอื่นใดนอกจากผม

พวกเขาพูดเรื่องทางเท้าซึ่งในประเทศเรา
ไม่ได้ออกแบบไว้ให้"คน"เดิน

แต่มีไว้ให้พ่อค้าแม่ค้าขายของ
ไว้ให้มอเตอร์ไซค์รับจ้างขี่สวนทางและไว้จอดรถ

แล้วฝรั่งคนหนึ่งก็พูดว่า
"พื้นฐานของคนประเทศผมคือวินัย
แต่พื้นฐานของคนไทยคือความเห็นแก่ตัว"

"คนในประเทศผมจะคิดแล้วคิดอีก"
ถ้าการจอดรถของเขาทำให้ใครลำบาก
และทุกครั้งจะจบลงด้วยการบอกตัวเองว่า "ไม่จอดดีกว่า" 
หรือไม่ก็ไปจอดไกลๆ แล้วเดินย้อนมา

แต่คนไทยไม่…

คนไทยจะ "เห็นแก่ตัว" ทุกที่ที่มีจังหวะ
ไม่ว่ามันจะเป็นการจอดบนทางเท้า
บนเลนจักรยานและแม้กระทั่งปากซอย
หรือกลับรถแล้วจอดทันที
เพราะสันดานพื้นฐานของคนไทยคือ"ความเห็นแก่ตัว"
และ "บังคับให้คนอื่นต้องหลบ" 
เพื่อให้ตนเองได้รับสิทธิพิเศษหรือความสบายมากที่สุดเสมอ

เมื่อไรที่ความเห็นแก่ตัวของคนไทยไม่ได้รับการตอบสนอง
คนไทยจะเรียกหา"น้ำใจ"

เขาเคยนึกว่า"น้ำใจ"ของคนไทยช่างแสนดี

แต่วันนี้เขารู้แล้วว่า"น้ำใจ"คือข้ออ้างของความเห็นแก่ตัว

ไม่ยอมให้แซงคิวในร้านอาหาร = ไม่มีน้ำใจ

ไม่ยอมให้จอดรถซื้อของกระพริบไฟ = ไม่มีน้ำใจ
[แม้จะทำให้รถติดยาวไปอีก 3 กิโลเมตร]

ไม่ยอมหลบให้รถมอเตอร์ไซค์ที่ขี่สวนเลนบนทางเท้า = ไม่มีน้ำใจ

ฝรั่งคนหนึ่งบอกว่า"น้ำใจ"
คือภาษาไทยคำแรกๆที่เขาเรียนรู้ ตอนมาถึงประเทศนี้
แต่ปัจจุบันมันคือคำที่น่า"ขยะแขยง[Disgusting]"สำหรับเขา
เพราะมันคือการที่คนไทยจ้องจะเอาเปรียบกันทุกวิถีทาง
เท่าที่จะทำได้โดยไม่สนใจใครทั้งนั้น

ตอนผมฟังประโยคแรกว่า"พื้นฐานของคนประเทศผมคือวินัย แต่พื้นฐานของคนไทย
คือความเห็นแก่ตัว"ก็อยากจะค้านเหมือนกัน

แต่หลังจากที่พยายามคิดหาเหตุผล
สุดท้ายผมก็นั่งทานเบอร์เกอร์ต่อไปเงียบๆ
พลางนึกถึงแฟนเก่าสาวญี่ปุ่นที่เคยตกใจ
ตอนเห็นร้านก๋วยเตี๋ยวข้างทางเทน้ำแกงจากหม้อลงบนถนน
กับคำถามที่ว่า"แล้วถ้ามีหนูมีแมลงสาปมาทำรัง ใครจะรับผิดชอบ?"

และ"ทำไมเราต้องมีน้ำใจให้คนเห็นแก่ตัว"



Thursday, September 1, 2016

เรื่องเล่า อาถรรพ์ เพชรซาอุ

ให้มาติดตามจนรู้ว่าเพชรสีฟ้าชุดใหญ่อยู่ที่ป้าสมจิต เปรมิกาได้ไปรายงานให้ป้าทราบเพื่อหาทางแก้ไข 
แต่ป้าสั่งจัดการ สังหารปิดปากราชวงศ์ทั้งสองคนของซาอุ โดยให้ตำรวจที่ชื่อสมนึก กรรมสนองเป็นคนจัดทีมสังหาร โดยการฆ่ารัดคอเอาศพไปทิ้งแถวบ้านบึง ชลบุรี ตามที่ปรากฏเป็นข่าว วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2533 เกิดเหตุฆาตกรรมนักการทูตซาอุ 3 คน ถูกยิงเสียชีวิต 

หลังจากนั้น 12 กุมภาพันธ์ 2533 นายมูฮัมหมัด อัลรูไวลี่ ( Mohammad Al-Ruwaily ) นักธุรกิจเชื้อพระวงศ์เพื่อนของนักการทูตทั้งสาม ได้เดินทางมากรุงเทพ เพื่อสืบสวนหาเครื่องเพชรดังกล่าว แต่เขาถูกลักพาตัวและถูกฆ่า คนที่ต้องเอาศพไปทิ้งไม่กล้าไปเอง จึงใช้ลูกน้องตำรวจสองคนไปจัดการ พอตอนยกศพลงจากรถ ลูกน้องสองคนนี้เห็นแหวน หัวเข็มขัดทองคำประจำราชวงศ์พร้อมทั้งกระเป๋าเงินจึงแอบหยิบเอามาเป็นของตน พอมาสมัยรักสินได้ส่งมือปราบฝีมือดีชื่อทวี สอดส่ายไปสืบจนได้ตัวคนหามศพทั้งสองคนพร้อมแหวนและหัวเข็มขัดทองคำประจำราชวงศ์ซาอุส่งกลับคืน 

เป็นพยาน เท็จใส่ความว่าชำมะลอเป็นคนเอาเพชรไป นายตำรวจลูกน้องของชำมะลอจึงจับตัวลูกและเมียเสี่ยสันติ เพื่อเป็นตัวประกันต่อรองกับเสี่ยสันติ แต่ทำให้ต้องเสียชีวิต กลายเป็นคดีฆาตกรรม ที่ชำมะลอและพรรคพวกต้องรับโทษถึงขั้นจำคุกตลอดชีวิตและต่อมาก็โดนเพิ่มโทษถึงประหารชีวิต เพื่อปิดปากปิดคดี ให้ผู้ร้ายตัวจริงที่ยักยอกเพชรสีน้ำเงินลอยนวลต่อไป
หัวหน้ารักสินให้มือปราบทำการสอบสวนตรวจสอบจนได้ความจริงทั้งหมด จึงเข้าไปขอร้องป้าสมจิตให้คืนเพชรสีน้ำเงินแก่ราชวงศ์ซาอุ เพราะได้คุยตกลงกับซาอุไว้เรียบร้อยแล้ว ไม่ให้เอาเรื่องกัน เพื่อจะได้รื้อฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อแรงงานไทย และเศรษฐกิจของประเทศจำนวนมหาศาล ที่ถูกสั่งระงับไปเป็นเวลาหลายปี โดยรักสินจะซื้อเพชรที่สวยและแพงไม่แพ้กัน มาให้ป้าสมจิตแทนของเดิมที่ต้องคืนให้เขาไป แต่ป้าไม่ยอม และโกรธมาก เหมือนถูกหยามเกียรติ กลายเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ป้าต้องรีบกำจัดรักสิน


นายเกรียงไกรถูกตัดสินจำคุกที่อยุธยา ฐานลักทรัพย์นายจ้าง และลักทรัพย์ในเวลากลางคืน โทษจำคุก 7 ปี สารภาพลดโทษกึ่งหนึ่ง คือ จำคุก 3 ปี 6 เดือน แต่ติดคุกจริง แค่ 2 ปี 8 เดือน ส่วนนิยายที่ว่าป้าแบ่งเพชรเป็นสามส่วนก็คงจะเป็นได้ยาก ป้าคงไม่ยอมแบ่งให้มันด้อยค่าลงไปโดยไม่จำเป็น เพราะป้าเชื่อว่าเพชรสีน้ำเงินเป็นของป้าจริงๆ เป็นวาสนาของป้าที่ได้ครอบครองเพชรสีน้ำเงินแม้ว่าเมื่อก่อนมันจะไม่ใช่ของป้าก็ตาม และป้าจะไม่ยอมคืนให้ใครเด็ดขาด เช่นเดียวกับที่ลุงได้สั่งพวกหัวหน้าเสื้อเหลือง ให้ไปทวงเขาพระวิหารคืนมาให้ได้ เพราะลุงสมชายเชื่อมาตลอดว่าเขาพระวิหารเป็นของลุงจริงๆ
ต้นปี 2554 กรมสืบสวนคดีพิเศษซึ่งได้รับความไว้วางใจจากประเทศซาอุและรัฐบาลไทยได้พบของกลางเพิ่มเติม และได้ส่งมอบให้ทางการซาอุได้ดูแล้ว แต่ถ้าได้เพชรสีน้ำเงินคืนก็จะทำพิธีส่งมอบ ที่ฝ่ายปกครองทุกยุคทุกสมัยได้ทุ่มเททั้งงบประมาณ เวลา และเจ้าหน้าที่ เพื่อจะนำของกลางมาคืนให้ซาอุ และกระชับความสัมพันธ์ระหว่างเมืองทั้งสอง ท่านรองผู้กองได้ประกาศว่า 

"ใครที่ครอบครองเพชรซาอุ หากต้องการจะส่งเพชรคืนสามารถใส่ห่อส่งคืนได้ที่กองสืบสวนคดีพิเศษ โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีความผิดเพราะคดีขาดอายุความแล้ว ถึงแม้ว่าท่านครอบครองไว้ก็ไม่สามารถทำให้รวยเพิ่มขึ้น ตรงกันข้ามหากเรานำไปคืนแก่เจ้าของเขา ทางซาอุอาจจะให้คนไทยเข้าไปทำงาน หรือให้คนซาอุมาเที่ยวประเทศไทย เป็นการสร้างรายได้ให้กับการท่องเที่ยวเป็นจำนวนมหาศาล แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือศักดิ์ศรีของชาวไทย ที่จะไม่ให้ใครต่อว่าได้ว่าเป็นคนขี้โกง" คำประกาศของท่านรองอธิบดีคงไม่มีผลมากนัก เพราะนายกรักสินก็เคยเสนอป้าสมจิตมานานแล้ว ขนาดว่าจะซื้อให้ใหม่ชุดใหญ่กว่าเดิม แต่ป้าสมจิตแกก็ยังไม่ยอม แถมยังเร่งหาทางกำจัดรักสินโดยเร็วที่สุดอีกด้วย

เรื่องเล่า อาถรรพ์ เพชรซาอุ

ให้มาติดตามจนรู้ว่าเพชรสีฟ้าชุดใหญ่อยู่ที่ป้าสมจิต เปรมิกาได้ไปรายงานให้ป้าทราบเพื่อหาทางแก้ไข 
แต่ป้าสั่งจัดการ สังหารปิดปากราชวงศ์ทั้งสองคนของซาอุ โดยให้ตำรวจที่ชื่อสมนึก กรรมสนองเป็นคนจัดทีมสังหาร โดยการฆ่ารัดคอเอาศพไปทิ้งแถวบ้านบึง ชลบุรี ตามที่ปรากฏเป็นข่าว วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2533 เกิดเหตุฆาตกรรมนักการทูตซาอุ 3 คน ถูกยิงเสียชีวิต 

หลังจากนั้น 12 กุมภาพันธ์ 2533 นายมูฮัมหมัด อัลรูไวลี่ ( Mohammad Al-Ruwaily ) นักธุรกิจเชื้อพระวงศ์เพื่อนของนักการทูตทั้งสาม ได้เดินทางมากรุงเทพ เพื่อสืบสวนหาเครื่องเพชรดังกล่าว แต่เขาถูกลักพาตัวและถูกฆ่า คนที่ต้องเอาศพไปทิ้งไม่กล้าไปเอง จึงใช้ลูกน้องตำรวจสองคนไปจัดการ พอตอนยกศพลงจากรถ ลูกน้องสองคนนี้เห็นแหวน หัวเข็มขัดทองคำประจำราชวงศ์พร้อมทั้งกระเป๋าเงินจึงแอบหยิบเอามาเป็นของตน พอมาสมัยรักสินได้ส่งมือปราบฝีมือดีชื่อทวี สอดส่ายไปสืบจนได้ตัวคนหามศพทั้งสองคนพร้อมแหวนและหัวเข็มขัดทองคำประจำราชวงศ์ซาอุส่งกลับคืน 

เป็นพยาน เท็จใส่ความว่าชำมะลอเป็นคนเอาเพชรไป นายตำรวจลูกน้องของชำมะลอจึงจับตัวลูกและเมียเสี่ยสันติ เพื่อเป็นตัวประกันต่อรองกับเสี่ยสันติ แต่ทำให้ต้องเสียชีวิต กลายเป็นคดีฆาตกรรม ที่ชำมะลอและพรรคพวกต้องรับโทษถึงขั้นจำคุกตลอดชีวิตและต่อมาก็โดนเพิ่มโทษถึงประหารชีวิต เพื่อปิดปากปิดคดี ให้ผู้ร้ายตัวจริงที่ยักยอกเพชรสีน้ำเงินลอยนวลต่อไป
หัวหน้ารักสินให้มือปราบทำการสอบสวนตรวจสอบจนได้ความจริงทั้งหมด จึงเข้าไปขอร้องป้าสมจิตให้คืนเพชรสีน้ำเงินแก่ราชวงศ์ซาอุ เพราะได้คุยตกลงกับซาอุไว้เรียบร้อยแล้ว ไม่ให้เอาเรื่องกัน เพื่อจะได้รื้อฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อแรงงานไทย และเศรษฐกิจของประเทศจำนวนมหาศาล ที่ถูกสั่งระงับไปเป็นเวลาหลายปี โดยรักสินจะซื้อเพชรที่สวยและแพงไม่แพ้กัน มาให้ป้าสมจิตแทนของเดิมที่ต้องคืนให้เขาไป แต่ป้าไม่ยอม และโกรธมาก เหมือนถูกหยามเกียรติ กลายเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ป้าต้องรีบกำจัดรักสิน


นายเกรียงไกรถูกตัดสินจำคุกที่อยุธยา ฐานลักทรัพย์นายจ้าง และลักทรัพย์ในเวลากลางคืน โทษจำคุก 7 ปี สารภาพลดโทษกึ่งหนึ่ง คือ จำคุก 3 ปี 6 เดือน แต่ติดคุกจริง แค่ 2 ปี 8 เดือน ส่วนนิยายที่ว่าป้าแบ่งเพชรเป็นสามส่วนก็คงจะเป็นได้ยาก ป้าคงไม่ยอมแบ่งให้มันด้อยค่าลงไปโดยไม่จำเป็น เพราะป้าเชื่อว่าเพชรสีน้ำเงินเป็นของป้าจริงๆ เป็นวาสนาของป้าที่ได้ครอบครองเพชรสีน้ำเงินแม้ว่าเมื่อก่อนมันจะไม่ใช่ของป้าก็ตาม และป้าจะไม่ยอมคืนให้ใครเด็ดขาด เช่นเดียวกับที่ลุงได้สั่งพวกหัวหน้าเสื้อเหลือง ให้ไปทวงเขาพระวิหารคืนมาให้ได้ เพราะลุงสมชายเชื่อมาตลอดว่าเขาพระวิหารเป็นของลุงจริงๆ
ต้นปี 2554 กรมสืบสวนคดีพิเศษซึ่งได้รับความไว้วางใจจากประเทศซาอุและรัฐบาลไทยได้พบของกลางเพิ่มเติม และได้ส่งมอบให้ทางการซาอุได้ดูแล้ว แต่ถ้าได้เพชรสีน้ำเงินคืนก็จะทำพิธีส่งมอบ ที่ฝ่ายปกครองทุกยุคทุกสมัยได้ทุ่มเททั้งงบประมาณ เวลา และเจ้าหน้าที่ เพื่อจะนำของกลางมาคืนให้ซาอุ และกระชับความสัมพันธ์ระหว่างเมืองทั้งสอง ท่านรองผู้กองได้ประกาศว่า 

"ใครที่ครอบครองเพชรซาอุ หากต้องการจะส่งเพชรคืนสามารถใส่ห่อส่งคืนได้ที่กองสืบสวนคดีพิเศษ โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีความผิดเพราะคดีขาดอายุความแล้ว ถึงแม้ว่าท่านครอบครองไว้ก็ไม่สามารถทำให้รวยเพิ่มขึ้น ตรงกันข้ามหากเรานำไปคืนแก่เจ้าของเขา ทางซาอุอาจจะให้คนไทยเข้าไปทำงาน หรือให้คนซาอุมาเที่ยวประเทศไทย เป็นการสร้างรายได้ให้กับการท่องเที่ยวเป็นจำนวนมหาศาล แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือศักดิ์ศรีของชาวไทย ที่จะไม่ให้ใครต่อว่าได้ว่าเป็นคนขี้โกง" คำประกาศของท่านรองอธิบดีคงไม่มีผลมากนัก เพราะนายกรักสินก็เคยเสนอป้าสมจิตมานานแล้ว ขนาดว่าจะซื้อให้ใหม่ชุดใหญ่กว่าเดิม แต่ป้าสมจิตแกก็ยังไม่ยอม แถมยังเร่งหาทางกำจัดรักสินโดยเร็วที่สุดอีกด้วย