PPD's Official Website

Friday, September 9, 2016

อย่าขายชาติด้วยการให้เช่าที่ดิน 99 ปี

อย่าขายชาติด้วยการให้เช่าที่ดิน 99 ปี
 ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (www.area.co.th) ได้เคยเขียนประกาศไว้ดังนี้:
 ตามข่าวในกรุงเทพธุรกิจเช้าวันนี้ (9 กันยายน 2559) และก่อนหน้านี้ 12 มกราคม 2559 ว่า "'สมคิด' สั่งธนารักษ์เร่งสรุปแก้กม.เช่าที่ 99 ปี" (http://bit.ly/1P5tx1p)  ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (www.area.co.th) เห็นว่าแนวคิดของ ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นเท็จ และอาจทำให้สังคมเข้าใจผิดว่ารัฐบาลเพียงหวังจะกระตุ้นเศรษฐกิจให้เป็นผลงานของรัฐบาล ก็พร้อมจะ "ขายชาติ" เสียแล้ว
ความเท็จข้อที่ 1: อ้างการลงทุนต่างชาติ
 ดร.สมคิด อ้างว่า "เนื่องจากระยะเวลาการเช่า 50 ปี ยังเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ไม่จูงใจการลงทุนขนาดใหญ่ที่มีระยะเวลาการคืนทุนที่ยาวนาน ส่งผลให้นักลงทุนทั้งในและต่างประเทศไม่กล้าตัดสินใจลงทุน"
 ดร.โสภณ เห็นว่า
 1. ที่ผ่านมาในการลงทุนสาธารณูปโภค ไม่ว่าจะเป็นโฮปเวลล์ ทางด่วนขั้นที่ 2 (กูมาไกกูมิ) หรือดอนเมืองโทลเวย์ ก็ล้วนใช้เงื่อนไข 30 ปีทั้งสิ้น  ต่างชาติก็ยินดีมาลงทุน
 2. ในการลงทุนภาคอุตสาหกรรม ต่างชาติก็สามารถซื้อดินในนิคมอุตสาหกรรมไทยได้อยู่แล้ว และมีกำไรได้ในเวลาไม่กี่ปี  โครงการใดที่รอกำไรถึง 30 ปีก็คงไม่รอดอยู่แล้ว  ปกติแล้วในการลงทุน ต้นทุนหลักคงเป็นเครื่องจักร และบุคลากร ที่ดินคงมีสัดส่วนเพียง 10-15% ของการลงทุนแบบนี้
 3. แม้การลงทุนของไทยเอง เช่น เซ็นทรัลลาดพร้าว เช่าที่การรถไฟฯ 30 ปีก็กำไรมหาศาลแล้ว
 ข้ออ้างของ ดร.สมคิดจึงเป็นเท็จโดยสิ้นเชิง  การให้เช่าถึง 50 ปี หรือ 99 ปี จึงเป็นการ "ปล้นชาติ" เช่นเดียวกับระยะเวลาการเช่าเกาะฮ่องกงนั่นเอง
ความเท็จข้อที่ 2: อ้างระเบียบต่างชาติ
 ดร.สมคิด อ้างว่า "ให้เอกชนเข้ามาทำประโยชน์เป็นระยะเวลา 99 ปี เหมือนกับกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และกลุ่มประเทศเออีซี"
 ดร.โสภณ เห็นว่า นี่เป็นการอ้างเท็จ  แม้แต่ในการเปิดเสรีทางการค้า ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขนี้ไว้ให้ใครมา "ขายชาติ"  ในความเป็นจริง ถ้าจะให้ต่างชาติซื้ออสังหาริมทรัพย์หรือเช่า 99 ปีนั้น จะต้องมีระบบภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยในประเทศตะวันตกเก็บภาษีนี้ราว 1-3% ของมูลค่า  แต่ในไทยผู้มีอำนาจไม่ต้องการเสียภาษีนี้ จึงไม่มีการเก็บ  หากให้ต่างชาติมาซื้อหรือเช่าระยะยาว ก็เท่ากับพวกนายทุนใหญ่และข้าราชการใหญ่ "ขายชาติ" เพียงเพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนเองโปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://goo.gl/lDDeZD (Download ฟรี)
ความเท็จข้อที่ 3: อ้างกระตุ้นเศรษฐกิจ
 ดร.สมคิด อ้างว่า "สั่งการให้กรมธนารักษ์หารือกับหน่วยงานดังกล่าว และสรุปการเช่าที่ 99 ปี ให้ได้ภายในเดือนนี้ เพื่อส่งให้ ครม. เห็นชอบและดำเนินการแก้ไขกฎหมาย จะได้ดำเนินโครงการลงทุนต่างๆ ขนาดใหญ่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศในระยะปานกลางและระยะยาว"
 ดร.โสภณ ให้ข้อมูลที่แท้จริงว่า ในยามวิกฤติเศรษฐกิจ รัฐบาลสมัยนั้นก็มีมาตรการให้ต่างชาติซื้อห้องชุด 100% ในช่วงปี 2542-5 แต่ปรากฏว่ามีต่างชาติมาซื้อห้องชุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพียง 5,465 ล้านบาท หรือประมาณ 1.2% ของอาคารชุดทั้งหมด  จนสุดท้ายเมื่อปี 2547 จึงยกเลิกมาตรการนี้ (http://goo.gl/SQ960j)  แต่ในปัจจุบัน สิงคโปร์เก็บค่าธรรมเนียม 15% ในกรณีที่ต่างชาติมาซื้ออสังหาริมทรัพย์ คล้ายกรณีคนไทยส่งลูกไปเรียนในประเทศตะวันตก ก็ต้องเสียค่าเล่าเรียนแพงกว่าคนท้องถิ่น เป็นต้น
 ที่สำคัญ การลงทุนของต่างชาติหรือไม่ขึ้นอยู่กับบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตยหรือไม่  ดูเมียนมาเป็นตัวอย่าง เมื่อเปิดประเทศเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น การลงทุนก็หลั่งไหลมาเอง  ในขณะนี้เศรษฐกิจไทยเสื่อมทรุดลงทุกวัน  ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาก็ตกต่ำลงเป็นอย่างมาก 
 โดยสรุปแล้ว การให้ต่างชาติเช่าที่ดิน 99 ปีจึงเป็นแนวคิดที่ไม่อาจกระตุ้นเศรษฐกิจได้จริง และจะเป็นภัยร้ายต่อประเทศชาติในอนาคต ให้ต่างชาติได้ครอบครองที่ดินชั่วกัลปาวสานในราคาซื้อขายเท่ากับคนไทยและไม่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อนำเงินมาพัฒนาท้องถิ่นเช่นในนานาอารยประเทศ  แนวทางที่ดีที่สุดในการกระตุ้นเศรษฐกิจก็คือสร้างบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตยแบบอารยะ  และการส่งเสริมการลงทุนจากทั้งในและต่างประเทศโดยไม่ต้องยกที่ดินให้ต่างชาติเลย
===================
ผมมาแจกหนังสือฟรีครับ
"วิชาชีพ ประเมินค่าทรัพย์สิน" 150 หน้า
ผมเขียนหนังสือเล่มนี้เพื่อชี้ให้เห็นว่าวิชาชีพประเมินค่าทรัพย์สิน มีคุณูปการต่อสังคมอย่างไร ไม่เฉพาะนักวิชาชีพที่พึงรู้ แม้แต่ผู้บริโภค ก็พึงรู้เช่นกันครับ ขอเชิญ download ได้ที่นี่ครับ: http://bit.ly/1VUpDjn

อย่าขายชาติด้วยการให้เช่าที่ดิน 99 ปี

อย่าขายชาติด้วยการให้เช่าที่ดิน 99 ปี
 ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (www.area.co.th) ได้เคยเขียนประกาศไว้ดังนี้:
 ตามข่าวในกรุงเทพธุรกิจเช้าวันนี้ (9 กันยายน 2559) และก่อนหน้านี้ 12 มกราคม 2559 ว่า "'สมคิด' สั่งธนารักษ์เร่งสรุปแก้กม.เช่าที่ 99 ปี" (http://bit.ly/1P5tx1p)  ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (www.area.co.th) เห็นว่าแนวคิดของ ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นเท็จ และอาจทำให้สังคมเข้าใจผิดว่ารัฐบาลเพียงหวังจะกระตุ้นเศรษฐกิจให้เป็นผลงานของรัฐบาล ก็พร้อมจะ "ขายชาติ" เสียแล้ว
ความเท็จข้อที่ 1: อ้างการลงทุนต่างชาติ
 ดร.สมคิด อ้างว่า "เนื่องจากระยะเวลาการเช่า 50 ปี ยังเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ไม่จูงใจการลงทุนขนาดใหญ่ที่มีระยะเวลาการคืนทุนที่ยาวนาน ส่งผลให้นักลงทุนทั้งในและต่างประเทศไม่กล้าตัดสินใจลงทุน"
 ดร.โสภณ เห็นว่า
 1. ที่ผ่านมาในการลงทุนสาธารณูปโภค ไม่ว่าจะเป็นโฮปเวลล์ ทางด่วนขั้นที่ 2 (กูมาไกกูมิ) หรือดอนเมืองโทลเวย์ ก็ล้วนใช้เงื่อนไข 30 ปีทั้งสิ้น  ต่างชาติก็ยินดีมาลงทุน
 2. ในการลงทุนภาคอุตสาหกรรม ต่างชาติก็สามารถซื้อดินในนิคมอุตสาหกรรมไทยได้อยู่แล้ว และมีกำไรได้ในเวลาไม่กี่ปี  โครงการใดที่รอกำไรถึง 30 ปีก็คงไม่รอดอยู่แล้ว  ปกติแล้วในการลงทุน ต้นทุนหลักคงเป็นเครื่องจักร และบุคลากร ที่ดินคงมีสัดส่วนเพียง 10-15% ของการลงทุนแบบนี้
 3. แม้การลงทุนของไทยเอง เช่น เซ็นทรัลลาดพร้าว เช่าที่การรถไฟฯ 30 ปีก็กำไรมหาศาลแล้ว
 ข้ออ้างของ ดร.สมคิดจึงเป็นเท็จโดยสิ้นเชิง  การให้เช่าถึง 50 ปี หรือ 99 ปี จึงเป็นการ "ปล้นชาติ" เช่นเดียวกับระยะเวลาการเช่าเกาะฮ่องกงนั่นเอง
ความเท็จข้อที่ 2: อ้างระเบียบต่างชาติ
 ดร.สมคิด อ้างว่า "ให้เอกชนเข้ามาทำประโยชน์เป็นระยะเวลา 99 ปี เหมือนกับกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และกลุ่มประเทศเออีซี"
 ดร.โสภณ เห็นว่า นี่เป็นการอ้างเท็จ  แม้แต่ในการเปิดเสรีทางการค้า ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขนี้ไว้ให้ใครมา "ขายชาติ"  ในความเป็นจริง ถ้าจะให้ต่างชาติซื้ออสังหาริมทรัพย์หรือเช่า 99 ปีนั้น จะต้องมีระบบภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยในประเทศตะวันตกเก็บภาษีนี้ราว 1-3% ของมูลค่า  แต่ในไทยผู้มีอำนาจไม่ต้องการเสียภาษีนี้ จึงไม่มีการเก็บ  หากให้ต่างชาติมาซื้อหรือเช่าระยะยาว ก็เท่ากับพวกนายทุนใหญ่และข้าราชการใหญ่ "ขายชาติ" เพียงเพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนเองโปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://goo.gl/lDDeZD (Download ฟรี)
ความเท็จข้อที่ 3: อ้างกระตุ้นเศรษฐกิจ
 ดร.สมคิด อ้างว่า "สั่งการให้กรมธนารักษ์หารือกับหน่วยงานดังกล่าว และสรุปการเช่าที่ 99 ปี ให้ได้ภายในเดือนนี้ เพื่อส่งให้ ครม. เห็นชอบและดำเนินการแก้ไขกฎหมาย จะได้ดำเนินโครงการลงทุนต่างๆ ขนาดใหญ่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศในระยะปานกลางและระยะยาว"
 ดร.โสภณ ให้ข้อมูลที่แท้จริงว่า ในยามวิกฤติเศรษฐกิจ รัฐบาลสมัยนั้นก็มีมาตรการให้ต่างชาติซื้อห้องชุด 100% ในช่วงปี 2542-5 แต่ปรากฏว่ามีต่างชาติมาซื้อห้องชุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพียง 5,465 ล้านบาท หรือประมาณ 1.2% ของอาคารชุดทั้งหมด  จนสุดท้ายเมื่อปี 2547 จึงยกเลิกมาตรการนี้ (http://goo.gl/SQ960j)  แต่ในปัจจุบัน สิงคโปร์เก็บค่าธรรมเนียม 15% ในกรณีที่ต่างชาติมาซื้ออสังหาริมทรัพย์ คล้ายกรณีคนไทยส่งลูกไปเรียนในประเทศตะวันตก ก็ต้องเสียค่าเล่าเรียนแพงกว่าคนท้องถิ่น เป็นต้น
 ที่สำคัญ การลงทุนของต่างชาติหรือไม่ขึ้นอยู่กับบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตยหรือไม่  ดูเมียนมาเป็นตัวอย่าง เมื่อเปิดประเทศเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น การลงทุนก็หลั่งไหลมาเอง  ในขณะนี้เศรษฐกิจไทยเสื่อมทรุดลงทุกวัน  ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาก็ตกต่ำลงเป็นอย่างมาก 
 โดยสรุปแล้ว การให้ต่างชาติเช่าที่ดิน 99 ปีจึงเป็นแนวคิดที่ไม่อาจกระตุ้นเศรษฐกิจได้จริง และจะเป็นภัยร้ายต่อประเทศชาติในอนาคต ให้ต่างชาติได้ครอบครองที่ดินชั่วกัลปาวสานในราคาซื้อขายเท่ากับคนไทยและไม่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อนำเงินมาพัฒนาท้องถิ่นเช่นในนานาอารยประเทศ  แนวทางที่ดีที่สุดในการกระตุ้นเศรษฐกิจก็คือสร้างบรรยากาศที่เป็นประชาธิปไตยแบบอารยะ  และการส่งเสริมการลงทุนจากทั้งในและต่างประเทศโดยไม่ต้องยกที่ดินให้ต่างชาติเลย
===================
ผมมาแจกหนังสือฟรีครับ
"วิชาชีพ ประเมินค่าทรัพย์สิน" 150 หน้า
ผมเขียนหนังสือเล่มนี้เพื่อชี้ให้เห็นว่าวิชาชีพประเมินค่าทรัพย์สิน มีคุณูปการต่อสังคมอย่างไร ไม่เฉพาะนักวิชาชีพที่พึงรู้ แม้แต่ผู้บริโภค ก็พึงรู้เช่นกันครับ ขอเชิญ download ได้ที่นี่ครับ: http://bit.ly/1VUpDjn

เปิดงบปี 2560 กลาโหมแตะ 2 แสนล้าน

เปิดงบปี 2560 พบกระทรวงศึกษาใช้เยอะสุด-กลาโหมแตะ 2 แสนล้าน
ข่าว  ข่าวการเมือง  เปิดงบปี 2560 พบกระทรวงศึกษาใช้เยอะสุด-กลาโหมแตะ 2 แสนล้าน
ดูบทความทั้งหมดของ Lheam-Thong  Lheam-Thong  Jun 24, 2016  0  3,471
162 Retweet 1 
163
shares
ผ่างบประมาณกระทรวงกลาโหมปี 2560 วงเงิน 2,733,000 ล้านบาท พบกระทรวงศึกษาธิการใช้เยอะสุด 519,292.5 ล้านบาท ขณะที่ กระทรวงกลาโหม เสนอ 214,347.4 ล้านบาท หวังเสริมสร้างความมั่นคงชาติ

หลังจากที่วานนี้ (23 มิ.ย. 59) พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้มีการอภิปรายชี้แจงถึงงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ก่อนที่ สนช. จะมีการพิจารณาและเห็นชอบรับหลักการในวาระที่ 1 ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี

งบประมาณแผ่นดิน, กระทรวงกลาโหม, กองทัพบก 

โดยนายกรัฐมนตรียืนยันว่า การจัดทำกรอบงบประมาณดังกล่าว เพื่อผลักดันให้เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ มีวงเงินงบประมาณรายจ่ายปี 2560 อยู่ที่ 2,733,000 ล้านบาท ขณะที่รายได้จะอยู่ที่ 2.343 ล้านล้านบาท ทำให้เป็นงบประมาณขาดดุล 3.9 แสนล้านบาท และยืนยันว่าการเบิกจ่ายของภาครัฐจะต้องมีประสิทธิภาพ ส่วนการจัดเก็บรายได้คาดว่าจะเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ภายใต้การประมาณการเศรษฐกิจในปี 2560 จะขยายตัวร้อยละ 3.7 – 4.2 นั้น

วันนี้ (24 มิ.ย. 59) ได้มีการเปิดเผยถึงรายละเอียดของงบประมาณดังกล่าว ที่นำไปใช้พัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ด้วยการวางยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณไว้ 6 ด้าน คือ

1.ความมั่นคงและการต่างประเทศ 157,155.5 ล้านบาท
2.การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 323,656.4 ล้านบาท
3.การพัฒนาคนและส่งเสริมศักยภาพคน 231,894.4 ล้านบาท
4.การแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน 241,149.1 ล้านบาท
5.การจัดการน้ำ และสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 110,156.6 ล้านบาท
6.การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 330,410.6 ล้านบาท

โดยกระทรวงที่เสนอใช้งบประมาณสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่
-กระทรวงศึกษาธิการ 519,292.5 ล้านบาท
-กระทรวงมหาดไทย 324,012 ล้านบาท
-กระทรวงการคลัง 218,633.1
-กระทรวงกลาโหม 214,347.4 ล้านบาท
และกระทรวงคมนาคม 152,726.4 ล้านบาท

ซึ่งในส่วนการจัดสรรงบประมาณของกระทรวงกลาโหม วงเงิน 214,347.4 ล้านบาทนั้น แบ่งเป็นดังนี้

สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 9,150 ล้านบาท
-แผนงานบุคลากรของภาครัฐ 4,744 ล้านบาท
-แผนงานพื้นฐานด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ 4,186 ล้านบาท
-แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้าง ได้แก่ ความมั่นคงสถาบันหลักของชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้านความมั่นคง และการป้องกันประเทศ รวม 219.5 ล้านบาท

กองบัญชาการกองทัพไทย จำนวน 16,292 ล้านบาท
-เสริมสร้างศักยภาพกองทัพและระบบป้องกันประเทศ 5,790 ล้านบาท
-เงินราชการลับ 54,822,000 บาท

กองทัพบก จำนวน 104,411 ล้านบาท
-เสริมสร้างศักยภาพกองทัพและระบบป้องกันประเทศ 43,635 ล้านบาท
-เงินราชการลับ 290 ล้านบาท
-พัฒนาความสามารถของกองทัพ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 1,973 ล้านบาท

กองทัพเรือ จำนวน 41,321 ล้านบาท
-ให้ประเทศมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคาม จำนวน 19,774 ล้านบาท
-เสริมสร้างยุทโธปกรณ์ 838.5 ล้านบาท
-เสริมสร้างกำลังกองทัพผูกพันข้ามปีงบประมาณ 6,627 ล้านบาท
-ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการตามแผนป้องกันประเทศ 1,870 ล้านบาท

กองทัพอากาศ จำนวน 39,165 ล้านบาท
-เสริมสร้างศักยภาพกองทัพและระบบป้องกันประเทศหวังให้เป็นกองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาคอาเซียน 22,265 ล้านบาท
-เสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน 247.7 ล้านบาท

ทั้งนี้จากการตรวจสอบพบว่า งบประมาณกระทรวงกลาโหมในปี 2560 เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2559 จำนวน 7,886.1 ล้านบาทหรือ 3.8%

ข้อมูลจาก posttoday.com

ติดตามข่าวสารอื่น ๆ ที่น่าสนใจได้ที่นี่ news.mthai.com

MThai News

เปิดงบปี 2560 กลาโหมแตะ 2 แสนล้าน

เปิดงบปี 2560 พบกระทรวงศึกษาใช้เยอะสุด-กลาโหมแตะ 2 แสนล้าน
ข่าว  ข่าวการเมือง  เปิดงบปี 2560 พบกระทรวงศึกษาใช้เยอะสุด-กลาโหมแตะ 2 แสนล้าน
ดูบทความทั้งหมดของ Lheam-Thong  Lheam-Thong  Jun 24, 2016  0  3,471
162 Retweet 1 
163
shares
ผ่างบประมาณกระทรวงกลาโหมปี 2560 วงเงิน 2,733,000 ล้านบาท พบกระทรวงศึกษาธิการใช้เยอะสุด 519,292.5 ล้านบาท ขณะที่ กระทรวงกลาโหม เสนอ 214,347.4 ล้านบาท หวังเสริมสร้างความมั่นคงชาติ

หลังจากที่วานนี้ (23 มิ.ย. 59) พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้มีการอภิปรายชี้แจงถึงงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ก่อนที่ สนช. จะมีการพิจารณาและเห็นชอบรับหลักการในวาระที่ 1 ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี

งบประมาณแผ่นดิน, กระทรวงกลาโหม, กองทัพบก 

โดยนายกรัฐมนตรียืนยันว่า การจัดทำกรอบงบประมาณดังกล่าว เพื่อผลักดันให้เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ มีวงเงินงบประมาณรายจ่ายปี 2560 อยู่ที่ 2,733,000 ล้านบาท ขณะที่รายได้จะอยู่ที่ 2.343 ล้านล้านบาท ทำให้เป็นงบประมาณขาดดุล 3.9 แสนล้านบาท และยืนยันว่าการเบิกจ่ายของภาครัฐจะต้องมีประสิทธิภาพ ส่วนการจัดเก็บรายได้คาดว่าจะเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ภายใต้การประมาณการเศรษฐกิจในปี 2560 จะขยายตัวร้อยละ 3.7 – 4.2 นั้น

วันนี้ (24 มิ.ย. 59) ได้มีการเปิดเผยถึงรายละเอียดของงบประมาณดังกล่าว ที่นำไปใช้พัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ด้วยการวางยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณไว้ 6 ด้าน คือ

1.ความมั่นคงและการต่างประเทศ 157,155.5 ล้านบาท
2.การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 323,656.4 ล้านบาท
3.การพัฒนาคนและส่งเสริมศักยภาพคน 231,894.4 ล้านบาท
4.การแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน 241,149.1 ล้านบาท
5.การจัดการน้ำ และสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 110,156.6 ล้านบาท
6.การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 330,410.6 ล้านบาท

โดยกระทรวงที่เสนอใช้งบประมาณสูงสุด 5 อันดับ ได้แก่
-กระทรวงศึกษาธิการ 519,292.5 ล้านบาท
-กระทรวงมหาดไทย 324,012 ล้านบาท
-กระทรวงการคลัง 218,633.1
-กระทรวงกลาโหม 214,347.4 ล้านบาท
และกระทรวงคมนาคม 152,726.4 ล้านบาท

ซึ่งในส่วนการจัดสรรงบประมาณของกระทรวงกลาโหม วงเงิน 214,347.4 ล้านบาทนั้น แบ่งเป็นดังนี้

สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 9,150 ล้านบาท
-แผนงานบุคลากรของภาครัฐ 4,744 ล้านบาท
-แผนงานพื้นฐานด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ 4,186 ล้านบาท
-แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้าง ได้แก่ ความมั่นคงสถาบันหลักของชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้านความมั่นคง และการป้องกันประเทศ รวม 219.5 ล้านบาท

กองบัญชาการกองทัพไทย จำนวน 16,292 ล้านบาท
-เสริมสร้างศักยภาพกองทัพและระบบป้องกันประเทศ 5,790 ล้านบาท
-เงินราชการลับ 54,822,000 บาท

กองทัพบก จำนวน 104,411 ล้านบาท
-เสริมสร้างศักยภาพกองทัพและระบบป้องกันประเทศ 43,635 ล้านบาท
-เงินราชการลับ 290 ล้านบาท
-พัฒนาความสามารถของกองทัพ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 1,973 ล้านบาท

กองทัพเรือ จำนวน 41,321 ล้านบาท
-ให้ประเทศมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคาม จำนวน 19,774 ล้านบาท
-เสริมสร้างยุทโธปกรณ์ 838.5 ล้านบาท
-เสริมสร้างกำลังกองทัพผูกพันข้ามปีงบประมาณ 6,627 ล้านบาท
-ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการตามแผนป้องกันประเทศ 1,870 ล้านบาท

กองทัพอากาศ จำนวน 39,165 ล้านบาท
-เสริมสร้างศักยภาพกองทัพและระบบป้องกันประเทศหวังให้เป็นกองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาคอาเซียน 22,265 ล้านบาท
-เสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน 247.7 ล้านบาท

ทั้งนี้จากการตรวจสอบพบว่า งบประมาณกระทรวงกลาโหมในปี 2560 เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2559 จำนวน 7,886.1 ล้านบาทหรือ 3.8%

ข้อมูลจาก posttoday.com

ติดตามข่าวสารอื่น ๆ ที่น่าสนใจได้ที่นี่ news.mthai.com

MThai News

ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา (ฮ่า ๆ ๆ พอเพียงมากมาย)

ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา
31/12/2008 View: 24,825




ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา
คนไทยทั่วประเทศมีความสุขที่ได้ร่วมแสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย
ู่หัว และปลาบปลื้มกับพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติอย่างยิ่งใหญ่ในกรุงเทพมหานครตั้งแต่วัน
ที่ 8-13 มิถุนายน 2549 นี้ ในขณะเดียวกัน ก็ได้พบเห็นข้าราชบริพารใกล้ชิด ที่ถวายงานให้กับองค์พระประมุขสูงสุดของชาติ ในพระราชพิธีสำคัญหลายต่อหลายครั้ง นั่นคือ ราชพาหนะคันล่าสุด มายบัค 62 (MAYBACH 62)


มายบัค เป็นรถระดับอัครอลังการแห่งความหรูหรา ที่ค่ายรถยนต์ยักษ์ใหญ่ของเยอรมันอย่างเดมเลอร์ไครสเลอร์ บรรจงสร้างสรรค์ขึ้นมาจากตำนานในอดีตของตัวเองมาเสกสรรปั้นแต่งใหม่อีกครั้ง ให้กลับมาสู่ความยิ่งใหญ่และเหนือชั้นกว่า โรลสรอยซ์ ค่ายรถหรูสัญชาติอังกฤษ โดยมายบัค ผลิตออกมาคำสั่งซื้อเท่านั้น ซึ่งเดมเลอร์ไครสเลอร์(ประเทศไทย)เคยนำมายบัคมาโชว์ตัวที่งานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ เมื่อกลางปี 2548 ที่ผ่านมาแล้ว โดยกำหนดราคาเบื้องต้นกว่า 100 ล้านบาท มายบัคมีให้เลือกได้สองแบบ รุ่นท็อปสุด มายบัค 62 ที่มีความยาว 6.17 เมตร โอ่อ่ากว้างขวางสุดหรูหรา ตามด้วยรุ่น มายบัค 57 ที่มีความยาว 5.73 เมตร


คุณค่าและความยิ่งใหญ่ของมายบัคอยู่ที่ความเลิศหรู อลังการและความหรูหราของห้องโดยสารที่กว้างขวาง สง่างาม เและนุ่มสบายตลอดการเดินทางของบุคคลระดับที่มีความสำคัญสูงสุด หรูหรา อลังการ ตั้งแต่ด้านหน้าสุดจนถึงเอนพนักเก้าอี้ลงจนสุดด้านหลัง ในรุ่นมายบัค 57 ให้ความยาวของห้องโดยสาร 2245 มิลลิเมตรและรุ่นมายบัค 62 ให้ความยาวระดับคฤหาสน์คลื่อนที่ 2682 มิลลิเมตร เก้าอี้ผู้โดยสาร หลังมีพื้นเหยียดเท้าถึง 1570 มิลลิเมตร ห้องสัมภาระท้ายรถ สามารถบรรจุกระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่ 5 ใบในรุ่น มายบัค 62 สามารถปรับเอนเก้าอี้ได้สบายอย่างเหนือชั้น เช่นเดียวกับที่นั่งชั้นหนึ่งของเครื่องบินโดยสารยุคปัจจุบัน ผู้โดยสารเพียงแต่ใช้ปุ่มปรับเก้าอี้แบบสัมผัส จากนั้นเก้าอี้จะเลื่อนอย่างช้าๆ ไปยังตำแหน่งที่ได้ปรับตั้งและเก็บไว้ในหน่วยความจำ โดยเลื่อนปรับได้สูงสุดถึง 47 องศา ในขณะเดียวกัน แผงรองขาและที่วางเท้าจะยื่นออกจากใต้เก้าอี้ออกไปข้างหน้าเพื่อรองรับ จากนั้นผู้โดยสารจะสามารถนั่งเอนได้ด้วยความสะดวกสบายที่สุด


ด้วยความสุขสบายสุดยอดนี้ เก้าอี้ของ มายบัค 62 ยังได้รับการพัฒนาให้มีความปลอดภัยสูงสุดในทุกตำแหน่ง ระบบยึดรั้งของลูกรอกสายเข็มขัด ชุดจำกัดแรงรัดเข็มขัดและถุงลมด้านข้างได้รวมไว้กับพนักพิงหลัง มั่นใจได้ว่าผู้โดยสารตอนหลังจะได้รับการปกป้องจากภยันตรายเมื่อปรับเอนเก้าอี้นั่ง


มายบัค 62 ยังสามารถดัดแปลงให้เป็นสำนักงานเคลื่อนที่ได้ด้วย ด้วยเหตุนี้วิศวกรรมใน Sindelfingen ได้พัฒนาโต๊ะพับทำด้วยอลูมินั่มสำหรับเก้าอี้หลังแต่ละคู่ พื้นโต๊ะแต่ละตัวแยกออกเป็นสองส่วน ขอบโต๊ะตกแต่งด้วยไม้ประดับคุณภาพสูง โต๊ะพับ ( เป็นอุปกรณ์มาตรฐานของ Maybach 62 ) มีช่องเก็บที่คอนโซลหลังแต่ละด้านเพื่อประหยัดเนื้อที่และสามารถดึงออกมาด้วยห่วงหนั
งเพียงใช้แรงเล็กน้อยเท่านั้น


นอกจากนี้ ที่ช่องเก็บตัวกลางของด้านหลังเป็นจุดรวมแหล่งบันเทิงที่วิศวกร ได้ออกแบบไว้สำหรับผู้โดยสารใช้เพื่อความบันเทิงขณะเดินทาง อันประกอบด้วยเครื่องเล่น DVD ชุด CD 6 แผ่น โทรศัพท์สองชุด ช่องแช่เย็นทำงานด้วยคอมเพรสเซอร์ของตัวเอง ชุดวางขวดแชมเปญและแก้วแชมเปญที่อยู่ในตำแหน่งอย่างปลอดภัย นอกจากนี้ แผงหน้าปัดโค้งบนเพดานเพื่อให้ผู้โดยสารตอนหลังทราบข้อมูลความเร็วรถขณะนั้น


ไฮไลต์ของมายบัค 62 ที่สร้างความหรูหราอลังการ คือ หลังคาแบบพาราโนรามิคที่สามารถปรับความโปร่งแสงด้วยไฟฟ้า โดยปรับระดับความสว่างที่ส่องเข้าห้องโดยสารนี้จะอาศัยการควบคุมผลึกเหลวให้เรียงตัว
การควบคุมแสงสว่างนี้มีติดตั้งใน มายบัค เป็นรุ่นแรกของโลกยานยนต์


ขุมพลังของมายบัค 62 เป็นสุดยอดแห่งเครื่องยนต์ คือ เครื่องยนต์ 12 สูบ เทอร์โบคู่ ขนาด 5.5 ลิตร ขับพลังงาน 405 กิโลวัตต์ / 550 แรงม้าด้วยแรงบิดสูงสุด 900 นิวตันเมตร ทำให้เครื่องยนต์ \" Type 12 \" เป็นขุมพลังงานทรงพลังด้วยแรงม้าและแรงบิดไร้เทียมทาน

ข้อมูลทางเทคนิค Maybach 62
เครื่องยนต์ 12 สูบ วางเป็นรูปตัว V 3 วาล์วต่อสูบ
ปริมาตรกระบอกสูบ 5513 ซีซี.
ความกว้าง x ช่วงชัก 82.0 x 87.0 มม.
กำลังสูงสุด 550 แรงม้าที่ 5250 รอบ/นาที
แรงบิดสูงสุด 900 นิวตันเมตร ที่ 2300-3000 รอบ/นาที
อัตราส่วนกำลังอัด 9.0 : 1
ระบบถ่ายทอดกำลัง เกียร์ อัตโนมัติ 5-สปีด
ราคา ไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท

มายบัคได้กลับมาสร้างรถยนต์หรูหราอีกครั้งหนึ่ง ภายใต้การดูแลของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ โดยได้เริ่มออกมา 2 รุ่นได้แก่ มายบัค 57 และ มายบัค 62 มีลักษณะเหมือนกันแตกต่างกันตรงความยาวของตัวถังรถ รถมายบัคถือว่าเป็นรถในระดับหรูหรา ซึ่งราคาใกล้เคียงกับรถบริษัทอื่นเช่น เบนลีย์ หรือ โรลส์-รอยศ์ ในปี พ.ศ. 2548 มายบัคได้ออกรถยนต์รุ่น 57S มีลักษณะเป็นรถสปอร์ต โดยมีเครื่องยนต์ 6 ลิตร V12 เทอร์โบคู่ ผลิตแรงม้าได้สูงถึง 604 แรงม้า และ ทอร์กได้สูงถึง 737 ปอนด์/ฟุต

รถยนต์พระที่นั่ง

1. มายบัค 62 เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 รถยนต์พระที่นั่งทรงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
2. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1992 รถยนต์พระที่นั่งสำรองในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
3. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1991 รถยนต์พระที่นั่งในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน

รายการราชพาหนะ ไม่รวมรถตามเสด็จ

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล
1. มายบัค 62 เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งทรงในปัจจุบัน
2. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1992 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งสำรองในปัจจุบัน
3. เมอร์ซิเดส เบนซ์ เอส 600 แอล เลขทะเบียน ร.ย.ล.901 ทรงใช้ในราชการประจำพระองค์ในปัจจุบัน
4. คาดิลแลค ดีทีเอส เลขทะเบียน ร.ย.ล.960 ทรงใช้ในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ โดยรถพระที่นั่งองค์นี้ เป็นรถที่ได้รับการดัดแปลง โดยนำมาตัดหลังคา ให้เป็นรถเปิดประทุน

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการ - แปรพระราชฐานต่างจังหวัด และรถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์
ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต

5. มายบัค 62 สีน้ำเงิน-ทอง เลขทะเบียน 1ด-1991
6. บีเอ็มดับเบิลยู 760Li สีครีม เลขทะเบียน 1ด-1993
7. โตโยต้า คัมรี่ 2.4V Navigator สีครีม
8. ฮอนด้า แอคคอร์ด 2.4 i-Vtec EL สีดำ
9. นิสสัน เทียน่า 200JK สีครีม
10. มิตซูบิชิ แลนเซอร์ ซีเดีย 1.8 SEi สีบรอนซ์ฟ้า เลขทะเบียน 1ด-4477

ทรงเก็บไว้ที่ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน

11. โตโยต้า วีออส 1.5G Limited สีดำ
12. โตโยต้า ยาริส 1.5G Limited สีแดง
13. เล็กซัส LS460L สีครีม
14. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
15. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ เชียงใหม่

16. เล็กซัส LS460L สีครีม
17. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
18. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ นราธิวาส

19. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
20. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
21. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ สกลนคร

22. เล็กซัส LS460L สีครีม
23. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

รถยนต์ซึงจัดซื้อด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ซึ่งได้พระราชทานให้หน่วยงานหรือข้าราชบริพารใช้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ทรงมีรถยนต์มากมายเกินกว่าที่จะนับได้ รถส่วนหนึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ข้าราชบริพารใช้ จะมีทะเบียนเป็น ดส-xxxx โดยรถจำพวกนี้ที่ประชาชนเห็นบ่อยๆ มีดังนี้

24. ฟอร์ด โฟกัส GHIA 1.8L 4Dr. พระราชทานให้เป็นรถทดลองเติมน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ใน พระราชดำริ โดยร่วมมือกับ บริษัท ฟอร์ด เซลล์ แอนด์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท ปตท. จำกัด มหาชน
25. ฟอร์ด เรนเจอร์ โอเพ้นแค็บไฮไรเดอร์ พระราชทานเป็นรถในโครงการทดลองข้าว โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ในพระราชดำริ
26. โตโยต้า ไฮลักซ์ วีโก้ Extra-Cab 2.5G D4D พระราชทานให้มูลนิธิชัยพัฒนาใช้
27. โตโยต้า โคโรลล่า อัลติส 1.6G พระราชทานให้เป็นรถตัวอย่างก๊าซธรรมชาติเอ็นจีวี
28. เมอร์ซิเดส เบนซ์ S600L W220 พระราชทานให้ พลเอก เปรม ติณณสูลานนท์ องคมนตรี ใช้เป็นรถประจำตำแหน่ง
29. เมอร์ซิเดส เบนซ์ E280 W211 พระราชทานให้เป็นรถตามเสด็จ/ขบวนแดง/พระประเทียบ


ในหลวงของไทยครองตำแหน่งนักลงทุนอันดับ1ของประเทศ

โดยวิลเลียม เมลเลอร์ สำนักข่าวบลูมเบิร์ก
(*บลูมเบิร์กเป็นสำนักข่าวด้านการเงินการลงทุนที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆของโลก-ผู้แปล)
- การถือครองสิริราชย์สมบัติผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กว่า5,000ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ
-ในปัจจุบันพระเจ้าอยู่หัวทรงมีที่ดิน13,000เอเคอร์ ในนั้นกว่า3,000เอเคอร์อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของไทย โดยพื้นที่บางแห่งมีมูลค่ากว่า30ล้านเหรียญต่อเอเคอร์

ทางด้านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานหุ้นที่ในหลวงของพสกนิกรชาวไทยถืออยู่ในนามของพระองค์ท่านมีดังนี้

1.SAMCO : บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจหมู่บ้านสัมมากร

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 197,414,850 43.87

2 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 45,847,050 10.19

3 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 25,000,000 5.56


2.TIC : บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของบริษัทประกันภัย

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3,526,567 18.56
5 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 456,168 2.40

7 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 391,276 2.06

9 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ 299,520 1.58

15 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 214,755 1.13


3. MINT : บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจพิซซ่า และไอศครีมSWENSEN

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 บริษัท ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 503,478,032 17.19

17 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 42,583,274 1.45

27 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 17,300,800 0.59

28 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 16,988,094 0.58


4.SINGER : บริษัท ซิงเกอร์ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจจักรเย็บผ้าและตู้เย็นเงินผ่อนSINGER


ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 SINGER ( THAILAND) B.V. 129,600,000 48.00

12 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 1,383,770 0.51

ส่วนหุ้นที่ไม่ได้ถือหุ้นในนามของพระองค์ท่าน แต่ผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินฯ ตลาดหลักทรัพย์ก็รายงานไว้ดังนี้

1.DVS : บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจประกันภัย


ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 10,475,992 87.30

2 บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด 1,042,200 8.69

3 คณะบุคคลนายวศิน นางกิ่งกาญจน์ โดยนายสมเกียรติ วงศ์รัตน์ 70,460 0.59


2. SCC : บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) เจ้าของธุรกิจปูนซิเมนต์ กระดาษ ปิโตรเคมี และฯลฯ

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) % หุ้น

1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 360,000,000 30.00

6 บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 23,202,000 1.93

7 สำนักงานพระคลังข้างที่

3. SCB : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

1 CHASE NOMINEES LIMITED 42 127,748,066 6.74


5 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 100,265,685 5.29

6 บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 82,010,000 4.33

9 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 50,000,000 2.64


ส่วนตรงนี้เป็นการรายงานของสำนักงานทร้พย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ครับ

เดิมสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ ในสังกัดสำนักพระราชวัง ต่อมา มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการยกเว้นภาษีอากรเกี่ยวกับทรัพย์สินส่วนพระมหาก
ษัตริย์ พุทธศักราช 2477 เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2478 โดยบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ได้แบ่งแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ออกเป็น 2 ประเภท


สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีผู้เช่าในความดูแลประมาณ 37,000 สัญญา โดยกระจายอยู่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ประมาณ 25,000 สัญญา ส่วนภูมิภาคซึ่งครอบคลุมพื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก พิจิตร ลำปาง ราชบุรี เพชรบุรี สงขลา นครปฐม ฉะเชิงเทรา และชลบุรี รวมประมาณ 12,000 สัญญา

ขอเชิญพสกนิกรชาวไทยน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณจองธนบัตรเฉลิมพระเกียรติ80ปี น้อมถวายในหลวง1,000ล้านบาท

ธปท.ออกธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติฯ80ปีในหลวง ตั้งเป้าได้ไม่น้อยกว่า1,000ล้านบาททูลเกล้าถวาย

แบงก์ชาติคลอดธนบัตรที่ระลึกฯ80ปี 1 บาท 5 บาท 10 บาท 15 ล้านชุด แบบไม่ตัดแบ่งเปิดจองหมวด 9 หน้า ราคา 300 บาท ที่แบงก์พาณิชย์ แบงก์รัฐทั่วประเทศ 2 ส.ค.นี้ ส่วนหมวดปกติ 100 บาท แลกได้ 28 พ.ย.นี้

นายสมชาย ศฤงคารินกุล ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนและสนับสนุนการบริหาร ธปท.กล่าวว่า ถ้าจำหน่ายได้หมด จะมีรายได้ส่วนต่างจากมูลค่าหน้าธนบัตรที่ระลึกฯ หลังหักค่าใช้จ่ายจะนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ต่ำกว่า 1,000 ล้านบาท

เครื่องบินพระราชพาหนะ ปัจจุบันมีดังนี้

1.โบอิ้ง 737-400 ซึ่งปัจจุบันเป็นเครื่องพระที่นั่งที่ประจำการ
2.Airbus 319-300 เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง
3.Airbus-ACJ 319 หรือไทยคู่ฟ้าเดิม เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง

และ ที่มาใหม่ลำนี้
4. โบอิ้ง 737-800 ไม่ทราบราคาจริงๆ เท่าไหร่ แต่งบประมาณที่ตั้งไว้
คือ 3100 ล้านบาท ตั้งตอนปี 2548 สมัยรัฐบาลทักษิณ น่าจะอยู่ในงบ
ปี 49 นะ ยังไม่มีเวลาค้น

เมื่อลำใหม่ 737-800 มาจะมาเป็นเครื่องพระที่นั่งลำหลัก
แล้ว 737-400 อาจจะถูกประจำการกับฝูงบินเดโชชัยของ
สมเด็จพระบรมฯ ครับ 

ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา (ฮ่า ๆ ๆ พอเพียงมากมาย)

ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา
31/12/2008 View: 24,825




ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา
คนไทยทั่วประเทศมีความสุขที่ได้ร่วมแสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย
ู่หัว และปลาบปลื้มกับพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติอย่างยิ่งใหญ่ในกรุงเทพมหานครตั้งแต่วัน
ที่ 8-13 มิถุนายน 2549 นี้ ในขณะเดียวกัน ก็ได้พบเห็นข้าราชบริพารใกล้ชิด ที่ถวายงานให้กับองค์พระประมุขสูงสุดของชาติ ในพระราชพิธีสำคัญหลายต่อหลายครั้ง นั่นคือ ราชพาหนะคันล่าสุด มายบัค 62 (MAYBACH 62)


มายบัค เป็นรถระดับอัครอลังการแห่งความหรูหรา ที่ค่ายรถยนต์ยักษ์ใหญ่ของเยอรมันอย่างเดมเลอร์ไครสเลอร์ บรรจงสร้างสรรค์ขึ้นมาจากตำนานในอดีตของตัวเองมาเสกสรรปั้นแต่งใหม่อีกครั้ง ให้กลับมาสู่ความยิ่งใหญ่และเหนือชั้นกว่า โรลสรอยซ์ ค่ายรถหรูสัญชาติอังกฤษ โดยมายบัค ผลิตออกมาคำสั่งซื้อเท่านั้น ซึ่งเดมเลอร์ไครสเลอร์(ประเทศไทย)เคยนำมายบัคมาโชว์ตัวที่งานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ เมื่อกลางปี 2548 ที่ผ่านมาแล้ว โดยกำหนดราคาเบื้องต้นกว่า 100 ล้านบาท มายบัคมีให้เลือกได้สองแบบ รุ่นท็อปสุด มายบัค 62 ที่มีความยาว 6.17 เมตร โอ่อ่ากว้างขวางสุดหรูหรา ตามด้วยรุ่น มายบัค 57 ที่มีความยาว 5.73 เมตร


คุณค่าและความยิ่งใหญ่ของมายบัคอยู่ที่ความเลิศหรู อลังการและความหรูหราของห้องโดยสารที่กว้างขวาง สง่างาม เและนุ่มสบายตลอดการเดินทางของบุคคลระดับที่มีความสำคัญสูงสุด หรูหรา อลังการ ตั้งแต่ด้านหน้าสุดจนถึงเอนพนักเก้าอี้ลงจนสุดด้านหลัง ในรุ่นมายบัค 57 ให้ความยาวของห้องโดยสาร 2245 มิลลิเมตรและรุ่นมายบัค 62 ให้ความยาวระดับคฤหาสน์คลื่อนที่ 2682 มิลลิเมตร เก้าอี้ผู้โดยสาร หลังมีพื้นเหยียดเท้าถึง 1570 มิลลิเมตร ห้องสัมภาระท้ายรถ สามารถบรรจุกระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่ 5 ใบในรุ่น มายบัค 62 สามารถปรับเอนเก้าอี้ได้สบายอย่างเหนือชั้น เช่นเดียวกับที่นั่งชั้นหนึ่งของเครื่องบินโดยสารยุคปัจจุบัน ผู้โดยสารเพียงแต่ใช้ปุ่มปรับเก้าอี้แบบสัมผัส จากนั้นเก้าอี้จะเลื่อนอย่างช้าๆ ไปยังตำแหน่งที่ได้ปรับตั้งและเก็บไว้ในหน่วยความจำ โดยเลื่อนปรับได้สูงสุดถึง 47 องศา ในขณะเดียวกัน แผงรองขาและที่วางเท้าจะยื่นออกจากใต้เก้าอี้ออกไปข้างหน้าเพื่อรองรับ จากนั้นผู้โดยสารจะสามารถนั่งเอนได้ด้วยความสะดวกสบายที่สุด


ด้วยความสุขสบายสุดยอดนี้ เก้าอี้ของ มายบัค 62 ยังได้รับการพัฒนาให้มีความปลอดภัยสูงสุดในทุกตำแหน่ง ระบบยึดรั้งของลูกรอกสายเข็มขัด ชุดจำกัดแรงรัดเข็มขัดและถุงลมด้านข้างได้รวมไว้กับพนักพิงหลัง มั่นใจได้ว่าผู้โดยสารตอนหลังจะได้รับการปกป้องจากภยันตรายเมื่อปรับเอนเก้าอี้นั่ง


มายบัค 62 ยังสามารถดัดแปลงให้เป็นสำนักงานเคลื่อนที่ได้ด้วย ด้วยเหตุนี้วิศวกรรมใน Sindelfingen ได้พัฒนาโต๊ะพับทำด้วยอลูมินั่มสำหรับเก้าอี้หลังแต่ละคู่ พื้นโต๊ะแต่ละตัวแยกออกเป็นสองส่วน ขอบโต๊ะตกแต่งด้วยไม้ประดับคุณภาพสูง โต๊ะพับ ( เป็นอุปกรณ์มาตรฐานของ Maybach 62 ) มีช่องเก็บที่คอนโซลหลังแต่ละด้านเพื่อประหยัดเนื้อที่และสามารถดึงออกมาด้วยห่วงหนั
งเพียงใช้แรงเล็กน้อยเท่านั้น


นอกจากนี้ ที่ช่องเก็บตัวกลางของด้านหลังเป็นจุดรวมแหล่งบันเทิงที่วิศวกร ได้ออกแบบไว้สำหรับผู้โดยสารใช้เพื่อความบันเทิงขณะเดินทาง อันประกอบด้วยเครื่องเล่น DVD ชุด CD 6 แผ่น โทรศัพท์สองชุด ช่องแช่เย็นทำงานด้วยคอมเพรสเซอร์ของตัวเอง ชุดวางขวดแชมเปญและแก้วแชมเปญที่อยู่ในตำแหน่งอย่างปลอดภัย นอกจากนี้ แผงหน้าปัดโค้งบนเพดานเพื่อให้ผู้โดยสารตอนหลังทราบข้อมูลความเร็วรถขณะนั้น


ไฮไลต์ของมายบัค 62 ที่สร้างความหรูหราอลังการ คือ หลังคาแบบพาราโนรามิคที่สามารถปรับความโปร่งแสงด้วยไฟฟ้า โดยปรับระดับความสว่างที่ส่องเข้าห้องโดยสารนี้จะอาศัยการควบคุมผลึกเหลวให้เรียงตัว
การควบคุมแสงสว่างนี้มีติดตั้งใน มายบัค เป็นรุ่นแรกของโลกยานยนต์


ขุมพลังของมายบัค 62 เป็นสุดยอดแห่งเครื่องยนต์ คือ เครื่องยนต์ 12 สูบ เทอร์โบคู่ ขนาด 5.5 ลิตร ขับพลังงาน 405 กิโลวัตต์ / 550 แรงม้าด้วยแรงบิดสูงสุด 900 นิวตันเมตร ทำให้เครื่องยนต์ \" Type 12 \" เป็นขุมพลังงานทรงพลังด้วยแรงม้าและแรงบิดไร้เทียมทาน

ข้อมูลทางเทคนิค Maybach 62
เครื่องยนต์ 12 สูบ วางเป็นรูปตัว V 3 วาล์วต่อสูบ
ปริมาตรกระบอกสูบ 5513 ซีซี.
ความกว้าง x ช่วงชัก 82.0 x 87.0 มม.
กำลังสูงสุด 550 แรงม้าที่ 5250 รอบ/นาที
แรงบิดสูงสุด 900 นิวตันเมตร ที่ 2300-3000 รอบ/นาที
อัตราส่วนกำลังอัด 9.0 : 1
ระบบถ่ายทอดกำลัง เกียร์ อัตโนมัติ 5-สปีด
ราคา ไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท

มายบัคได้กลับมาสร้างรถยนต์หรูหราอีกครั้งหนึ่ง ภายใต้การดูแลของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ โดยได้เริ่มออกมา 2 รุ่นได้แก่ มายบัค 57 และ มายบัค 62 มีลักษณะเหมือนกันแตกต่างกันตรงความยาวของตัวถังรถ รถมายบัคถือว่าเป็นรถในระดับหรูหรา ซึ่งราคาใกล้เคียงกับรถบริษัทอื่นเช่น เบนลีย์ หรือ โรลส์-รอยศ์ ในปี พ.ศ. 2548 มายบัคได้ออกรถยนต์รุ่น 57S มีลักษณะเป็นรถสปอร์ต โดยมีเครื่องยนต์ 6 ลิตร V12 เทอร์โบคู่ ผลิตแรงม้าได้สูงถึง 604 แรงม้า และ ทอร์กได้สูงถึง 737 ปอนด์/ฟุต

รถยนต์พระที่นั่ง

1. มายบัค 62 เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 รถยนต์พระที่นั่งทรงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
2. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1992 รถยนต์พระที่นั่งสำรองในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
3. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1991 รถยนต์พระที่นั่งในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน

รายการราชพาหนะ ไม่รวมรถตามเสด็จ

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล
1. มายบัค 62 เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งทรงในปัจจุบัน
2. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1992 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งสำรองในปัจจุบัน
3. เมอร์ซิเดส เบนซ์ เอส 600 แอล เลขทะเบียน ร.ย.ล.901 ทรงใช้ในราชการประจำพระองค์ในปัจจุบัน
4. คาดิลแลค ดีทีเอส เลขทะเบียน ร.ย.ล.960 ทรงใช้ในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ โดยรถพระที่นั่งองค์นี้ เป็นรถที่ได้รับการดัดแปลง โดยนำมาตัดหลังคา ให้เป็นรถเปิดประทุน

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการ - แปรพระราชฐานต่างจังหวัด และรถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์
ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต

5. มายบัค 62 สีน้ำเงิน-ทอง เลขทะเบียน 1ด-1991
6. บีเอ็มดับเบิลยู 760Li สีครีม เลขทะเบียน 1ด-1993
7. โตโยต้า คัมรี่ 2.4V Navigator สีครีม
8. ฮอนด้า แอคคอร์ด 2.4 i-Vtec EL สีดำ
9. นิสสัน เทียน่า 200JK สีครีม
10. มิตซูบิชิ แลนเซอร์ ซีเดีย 1.8 SEi สีบรอนซ์ฟ้า เลขทะเบียน 1ด-4477

ทรงเก็บไว้ที่ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน

11. โตโยต้า วีออส 1.5G Limited สีดำ
12. โตโยต้า ยาริส 1.5G Limited สีแดง
13. เล็กซัส LS460L สีครีม
14. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
15. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ เชียงใหม่

16. เล็กซัส LS460L สีครีม
17. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
18. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ นราธิวาส

19. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
20. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
21. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ สกลนคร

22. เล็กซัส LS460L สีครีม
23. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

รถยนต์ซึงจัดซื้อด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ซึ่งได้พระราชทานให้หน่วยงานหรือข้าราชบริพารใช้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ทรงมีรถยนต์มากมายเกินกว่าที่จะนับได้ รถส่วนหนึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ข้าราชบริพารใช้ จะมีทะเบียนเป็น ดส-xxxx โดยรถจำพวกนี้ที่ประชาชนเห็นบ่อยๆ มีดังนี้

24. ฟอร์ด โฟกัส GHIA 1.8L 4Dr. พระราชทานให้เป็นรถทดลองเติมน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ใน พระราชดำริ โดยร่วมมือกับ บริษัท ฟอร์ด เซลล์ แอนด์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท ปตท. จำกัด มหาชน
25. ฟอร์ด เรนเจอร์ โอเพ้นแค็บไฮไรเดอร์ พระราชทานเป็นรถในโครงการทดลองข้าว โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ในพระราชดำริ
26. โตโยต้า ไฮลักซ์ วีโก้ Extra-Cab 2.5G D4D พระราชทานให้มูลนิธิชัยพัฒนาใช้
27. โตโยต้า โคโรลล่า อัลติส 1.6G พระราชทานให้เป็นรถตัวอย่างก๊าซธรรมชาติเอ็นจีวี
28. เมอร์ซิเดส เบนซ์ S600L W220 พระราชทานให้ พลเอก เปรม ติณณสูลานนท์ องคมนตรี ใช้เป็นรถประจำตำแหน่ง
29. เมอร์ซิเดส เบนซ์ E280 W211 พระราชทานให้เป็นรถตามเสด็จ/ขบวนแดง/พระประเทียบ


ในหลวงของไทยครองตำแหน่งนักลงทุนอันดับ1ของประเทศ

โดยวิลเลียม เมลเลอร์ สำนักข่าวบลูมเบิร์ก
(*บลูมเบิร์กเป็นสำนักข่าวด้านการเงินการลงทุนที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆของโลก-ผู้แปล)
- การถือครองสิริราชย์สมบัติผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กว่า5,000ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ
-ในปัจจุบันพระเจ้าอยู่หัวทรงมีที่ดิน13,000เอเคอร์ ในนั้นกว่า3,000เอเคอร์อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของไทย โดยพื้นที่บางแห่งมีมูลค่ากว่า30ล้านเหรียญต่อเอเคอร์

ทางด้านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานหุ้นที่ในหลวงของพสกนิกรชาวไทยถืออยู่ในนามของพระองค์ท่านมีดังนี้

1.SAMCO : บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจหมู่บ้านสัมมากร

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 197,414,850 43.87

2 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 45,847,050 10.19

3 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 25,000,000 5.56


2.TIC : บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของบริษัทประกันภัย

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3,526,567 18.56
5 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 456,168 2.40

7 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 391,276 2.06

9 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ 299,520 1.58

15 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 214,755 1.13


3. MINT : บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจพิซซ่า และไอศครีมSWENSEN

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 บริษัท ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 503,478,032 17.19

17 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 42,583,274 1.45

27 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 17,300,800 0.59

28 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 16,988,094 0.58


4.SINGER : บริษัท ซิงเกอร์ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจจักรเย็บผ้าและตู้เย็นเงินผ่อนSINGER


ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 SINGER ( THAILAND) B.V. 129,600,000 48.00

12 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 1,383,770 0.51

ส่วนหุ้นที่ไม่ได้ถือหุ้นในนามของพระองค์ท่าน แต่ผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินฯ ตลาดหลักทรัพย์ก็รายงานไว้ดังนี้

1.DVS : บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจประกันภัย


ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 10,475,992 87.30

2 บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด 1,042,200 8.69

3 คณะบุคคลนายวศิน นางกิ่งกาญจน์ โดยนายสมเกียรติ วงศ์รัตน์ 70,460 0.59


2. SCC : บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) เจ้าของธุรกิจปูนซิเมนต์ กระดาษ ปิโตรเคมี และฯลฯ

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) % หุ้น

1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 360,000,000 30.00

6 บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 23,202,000 1.93

7 สำนักงานพระคลังข้างที่

3. SCB : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

1 CHASE NOMINEES LIMITED 42 127,748,066 6.74


5 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 100,265,685 5.29

6 บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 82,010,000 4.33

9 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 50,000,000 2.64


ส่วนตรงนี้เป็นการรายงานของสำนักงานทร้พย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ครับ

เดิมสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ ในสังกัดสำนักพระราชวัง ต่อมา มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการยกเว้นภาษีอากรเกี่ยวกับทรัพย์สินส่วนพระมหาก
ษัตริย์ พุทธศักราช 2477 เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2478 โดยบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ได้แบ่งแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ออกเป็น 2 ประเภท


สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีผู้เช่าในความดูแลประมาณ 37,000 สัญญา โดยกระจายอยู่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ประมาณ 25,000 สัญญา ส่วนภูมิภาคซึ่งครอบคลุมพื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก พิจิตร ลำปาง ราชบุรี เพชรบุรี สงขลา นครปฐม ฉะเชิงเทรา และชลบุรี รวมประมาณ 12,000 สัญญา

ขอเชิญพสกนิกรชาวไทยน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณจองธนบัตรเฉลิมพระเกียรติ80ปี น้อมถวายในหลวง1,000ล้านบาท

ธปท.ออกธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติฯ80ปีในหลวง ตั้งเป้าได้ไม่น้อยกว่า1,000ล้านบาททูลเกล้าถวาย

แบงก์ชาติคลอดธนบัตรที่ระลึกฯ80ปี 1 บาท 5 บาท 10 บาท 15 ล้านชุด แบบไม่ตัดแบ่งเปิดจองหมวด 9 หน้า ราคา 300 บาท ที่แบงก์พาณิชย์ แบงก์รัฐทั่วประเทศ 2 ส.ค.นี้ ส่วนหมวดปกติ 100 บาท แลกได้ 28 พ.ย.นี้

นายสมชาย ศฤงคารินกุล ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนและสนับสนุนการบริหาร ธปท.กล่าวว่า ถ้าจำหน่ายได้หมด จะมีรายได้ส่วนต่างจากมูลค่าหน้าธนบัตรที่ระลึกฯ หลังหักค่าใช้จ่ายจะนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ต่ำกว่า 1,000 ล้านบาท

เครื่องบินพระราชพาหนะ ปัจจุบันมีดังนี้

1.โบอิ้ง 737-400 ซึ่งปัจจุบันเป็นเครื่องพระที่นั่งที่ประจำการ
2.Airbus 319-300 เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง
3.Airbus-ACJ 319 หรือไทยคู่ฟ้าเดิม เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง

และ ที่มาใหม่ลำนี้
4. โบอิ้ง 737-800 ไม่ทราบราคาจริงๆ เท่าไหร่ แต่งบประมาณที่ตั้งไว้
คือ 3100 ล้านบาท ตั้งตอนปี 2548 สมัยรัฐบาลทักษิณ น่าจะอยู่ในงบ
ปี 49 นะ ยังไม่มีเวลาค้น

เมื่อลำใหม่ 737-800 มาจะมาเป็นเครื่องพระที่นั่งลำหลัก
แล้ว 737-400 อาจจะถูกประจำการกับฝูงบินเดโชชัยของ
สมเด็จพระบรมฯ ครับ 

ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา (ฮ่า ๆ ๆ พอเพียงมากมาย)

ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา
31/12/2008 View: 24,825




ใครทราบพระราชทรัพย์ในหลวงของเรา
คนไทยทั่วประเทศมีความสุขที่ได้ร่วมแสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย
ู่หัว และปลาบปลื้มกับพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติอย่างยิ่งใหญ่ในกรุงเทพมหานครตั้งแต่วัน
ที่ 8-13 มิถุนายน 2549 นี้ ในขณะเดียวกัน ก็ได้พบเห็นข้าราชบริพารใกล้ชิด ที่ถวายงานให้กับองค์พระประมุขสูงสุดของชาติ ในพระราชพิธีสำคัญหลายต่อหลายครั้ง นั่นคือ ราชพาหนะคันล่าสุด มายบัค 62 (MAYBACH 62)


มายบัค เป็นรถระดับอัครอลังการแห่งความหรูหรา ที่ค่ายรถยนต์ยักษ์ใหญ่ของเยอรมันอย่างเดมเลอร์ไครสเลอร์ บรรจงสร้างสรรค์ขึ้นมาจากตำนานในอดีตของตัวเองมาเสกสรรปั้นแต่งใหม่อีกครั้ง ให้กลับมาสู่ความยิ่งใหญ่และเหนือชั้นกว่า โรลสรอยซ์ ค่ายรถหรูสัญชาติอังกฤษ โดยมายบัค ผลิตออกมาคำสั่งซื้อเท่านั้น ซึ่งเดมเลอร์ไครสเลอร์(ประเทศไทย)เคยนำมายบัคมาโชว์ตัวที่งานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ เมื่อกลางปี 2548 ที่ผ่านมาแล้ว โดยกำหนดราคาเบื้องต้นกว่า 100 ล้านบาท มายบัคมีให้เลือกได้สองแบบ รุ่นท็อปสุด มายบัค 62 ที่มีความยาว 6.17 เมตร โอ่อ่ากว้างขวางสุดหรูหรา ตามด้วยรุ่น มายบัค 57 ที่มีความยาว 5.73 เมตร


คุณค่าและความยิ่งใหญ่ของมายบัคอยู่ที่ความเลิศหรู อลังการและความหรูหราของห้องโดยสารที่กว้างขวาง สง่างาม เและนุ่มสบายตลอดการเดินทางของบุคคลระดับที่มีความสำคัญสูงสุด หรูหรา อลังการ ตั้งแต่ด้านหน้าสุดจนถึงเอนพนักเก้าอี้ลงจนสุดด้านหลัง ในรุ่นมายบัค 57 ให้ความยาวของห้องโดยสาร 2245 มิลลิเมตรและรุ่นมายบัค 62 ให้ความยาวระดับคฤหาสน์คลื่อนที่ 2682 มิลลิเมตร เก้าอี้ผู้โดยสาร หลังมีพื้นเหยียดเท้าถึง 1570 มิลลิเมตร ห้องสัมภาระท้ายรถ สามารถบรรจุกระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่ 5 ใบในรุ่น มายบัค 62 สามารถปรับเอนเก้าอี้ได้สบายอย่างเหนือชั้น เช่นเดียวกับที่นั่งชั้นหนึ่งของเครื่องบินโดยสารยุคปัจจุบัน ผู้โดยสารเพียงแต่ใช้ปุ่มปรับเก้าอี้แบบสัมผัส จากนั้นเก้าอี้จะเลื่อนอย่างช้าๆ ไปยังตำแหน่งที่ได้ปรับตั้งและเก็บไว้ในหน่วยความจำ โดยเลื่อนปรับได้สูงสุดถึง 47 องศา ในขณะเดียวกัน แผงรองขาและที่วางเท้าจะยื่นออกจากใต้เก้าอี้ออกไปข้างหน้าเพื่อรองรับ จากนั้นผู้โดยสารจะสามารถนั่งเอนได้ด้วยความสะดวกสบายที่สุด


ด้วยความสุขสบายสุดยอดนี้ เก้าอี้ของ มายบัค 62 ยังได้รับการพัฒนาให้มีความปลอดภัยสูงสุดในทุกตำแหน่ง ระบบยึดรั้งของลูกรอกสายเข็มขัด ชุดจำกัดแรงรัดเข็มขัดและถุงลมด้านข้างได้รวมไว้กับพนักพิงหลัง มั่นใจได้ว่าผู้โดยสารตอนหลังจะได้รับการปกป้องจากภยันตรายเมื่อปรับเอนเก้าอี้นั่ง


มายบัค 62 ยังสามารถดัดแปลงให้เป็นสำนักงานเคลื่อนที่ได้ด้วย ด้วยเหตุนี้วิศวกรรมใน Sindelfingen ได้พัฒนาโต๊ะพับทำด้วยอลูมินั่มสำหรับเก้าอี้หลังแต่ละคู่ พื้นโต๊ะแต่ละตัวแยกออกเป็นสองส่วน ขอบโต๊ะตกแต่งด้วยไม้ประดับคุณภาพสูง โต๊ะพับ ( เป็นอุปกรณ์มาตรฐานของ Maybach 62 ) มีช่องเก็บที่คอนโซลหลังแต่ละด้านเพื่อประหยัดเนื้อที่และสามารถดึงออกมาด้วยห่วงหนั
งเพียงใช้แรงเล็กน้อยเท่านั้น


นอกจากนี้ ที่ช่องเก็บตัวกลางของด้านหลังเป็นจุดรวมแหล่งบันเทิงที่วิศวกร ได้ออกแบบไว้สำหรับผู้โดยสารใช้เพื่อความบันเทิงขณะเดินทาง อันประกอบด้วยเครื่องเล่น DVD ชุด CD 6 แผ่น โทรศัพท์สองชุด ช่องแช่เย็นทำงานด้วยคอมเพรสเซอร์ของตัวเอง ชุดวางขวดแชมเปญและแก้วแชมเปญที่อยู่ในตำแหน่งอย่างปลอดภัย นอกจากนี้ แผงหน้าปัดโค้งบนเพดานเพื่อให้ผู้โดยสารตอนหลังทราบข้อมูลความเร็วรถขณะนั้น


ไฮไลต์ของมายบัค 62 ที่สร้างความหรูหราอลังการ คือ หลังคาแบบพาราโนรามิคที่สามารถปรับความโปร่งแสงด้วยไฟฟ้า โดยปรับระดับความสว่างที่ส่องเข้าห้องโดยสารนี้จะอาศัยการควบคุมผลึกเหลวให้เรียงตัว
การควบคุมแสงสว่างนี้มีติดตั้งใน มายบัค เป็นรุ่นแรกของโลกยานยนต์


ขุมพลังของมายบัค 62 เป็นสุดยอดแห่งเครื่องยนต์ คือ เครื่องยนต์ 12 สูบ เทอร์โบคู่ ขนาด 5.5 ลิตร ขับพลังงาน 405 กิโลวัตต์ / 550 แรงม้าด้วยแรงบิดสูงสุด 900 นิวตันเมตร ทำให้เครื่องยนต์ \" Type 12 \" เป็นขุมพลังงานทรงพลังด้วยแรงม้าและแรงบิดไร้เทียมทาน

ข้อมูลทางเทคนิค Maybach 62
เครื่องยนต์ 12 สูบ วางเป็นรูปตัว V 3 วาล์วต่อสูบ
ปริมาตรกระบอกสูบ 5513 ซีซี.
ความกว้าง x ช่วงชัก 82.0 x 87.0 มม.
กำลังสูงสุด 550 แรงม้าที่ 5250 รอบ/นาที
แรงบิดสูงสุด 900 นิวตันเมตร ที่ 2300-3000 รอบ/นาที
อัตราส่วนกำลังอัด 9.0 : 1
ระบบถ่ายทอดกำลัง เกียร์ อัตโนมัติ 5-สปีด
ราคา ไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท

มายบัคได้กลับมาสร้างรถยนต์หรูหราอีกครั้งหนึ่ง ภายใต้การดูแลของ เมอร์เซเดส-เบนซ์ โดยได้เริ่มออกมา 2 รุ่นได้แก่ มายบัค 57 และ มายบัค 62 มีลักษณะเหมือนกันแตกต่างกันตรงความยาวของตัวถังรถ รถมายบัคถือว่าเป็นรถในระดับหรูหรา ซึ่งราคาใกล้เคียงกับรถบริษัทอื่นเช่น เบนลีย์ หรือ โรลส์-รอยศ์ ในปี พ.ศ. 2548 มายบัคได้ออกรถยนต์รุ่น 57S มีลักษณะเป็นรถสปอร์ต โดยมีเครื่องยนต์ 6 ลิตร V12 เทอร์โบคู่ ผลิตแรงม้าได้สูงถึง 604 แรงม้า และ ทอร์กได้สูงถึง 737 ปอนด์/ฟุต

รถยนต์พระที่นั่ง

1. มายบัค 62 เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 รถยนต์พระที่นั่งทรงในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
2. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1992 รถยนต์พระที่นั่งสำรองในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
3. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1991 รถยนต์พระที่นั่งในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน

รายการราชพาหนะ ไม่รวมรถตามเสด็จ

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล
1. มายบัค 62 เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งทรงในปัจจุบัน
2. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1992 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งสำรองในปัจจุบัน
3. เมอร์ซิเดส เบนซ์ เอส 600 แอล เลขทะเบียน ร.ย.ล.901 ทรงใช้ในราชการประจำพระองค์ในปัจจุบัน
4. คาดิลแลค ดีทีเอส เลขทะเบียน ร.ย.ล.960 ทรงใช้ในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ โดยรถพระที่นั่งองค์นี้ เป็นรถที่ได้รับการดัดแปลง โดยนำมาตัดหลังคา ให้เป็นรถเปิดประทุน

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการ - แปรพระราชฐานต่างจังหวัด และรถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์
ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต

5. มายบัค 62 สีน้ำเงิน-ทอง เลขทะเบียน 1ด-1991
6. บีเอ็มดับเบิลยู 760Li สีครีม เลขทะเบียน 1ด-1993
7. โตโยต้า คัมรี่ 2.4V Navigator สีครีม
8. ฮอนด้า แอคคอร์ด 2.4 i-Vtec EL สีดำ
9. นิสสัน เทียน่า 200JK สีครีม
10. มิตซูบิชิ แลนเซอร์ ซีเดีย 1.8 SEi สีบรอนซ์ฟ้า เลขทะเบียน 1ด-4477

ทรงเก็บไว้ที่ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน

11. โตโยต้า วีออส 1.5G Limited สีดำ
12. โตโยต้า ยาริส 1.5G Limited สีแดง
13. เล็กซัส LS460L สีครีม
14. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
15. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ เชียงใหม่

16. เล็กซัส LS460L สีครีม
17. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
18. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ นราธิวาส

19. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
20. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
21. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ สกลนคร

22. เล็กซัส LS460L สีครีม
23. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

รถยนต์ซึงจัดซื้อด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ซึ่งได้พระราชทานให้หน่วยงานหรือข้าราชบริพารใช้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ทรงมีรถยนต์มากมายเกินกว่าที่จะนับได้ รถส่วนหนึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ข้าราชบริพารใช้ จะมีทะเบียนเป็น ดส-xxxx โดยรถจำพวกนี้ที่ประชาชนเห็นบ่อยๆ มีดังนี้

24. ฟอร์ด โฟกัส GHIA 1.8L 4Dr. พระราชทานให้เป็นรถทดลองเติมน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ใน พระราชดำริ โดยร่วมมือกับ บริษัท ฟอร์ด เซลล์ แอนด์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท ปตท. จำกัด มหาชน
25. ฟอร์ด เรนเจอร์ โอเพ้นแค็บไฮไรเดอร์ พระราชทานเป็นรถในโครงการทดลองข้าว โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ในพระราชดำริ
26. โตโยต้า ไฮลักซ์ วีโก้ Extra-Cab 2.5G D4D พระราชทานให้มูลนิธิชัยพัฒนาใช้
27. โตโยต้า โคโรลล่า อัลติส 1.6G พระราชทานให้เป็นรถตัวอย่างก๊าซธรรมชาติเอ็นจีวี
28. เมอร์ซิเดส เบนซ์ S600L W220 พระราชทานให้ พลเอก เปรม ติณณสูลานนท์ องคมนตรี ใช้เป็นรถประจำตำแหน่ง
29. เมอร์ซิเดส เบนซ์ E280 W211 พระราชทานให้เป็นรถตามเสด็จ/ขบวนแดง/พระประเทียบ


ในหลวงของไทยครองตำแหน่งนักลงทุนอันดับ1ของประเทศ

โดยวิลเลียม เมลเลอร์ สำนักข่าวบลูมเบิร์ก
(*บลูมเบิร์กเป็นสำนักข่าวด้านการเงินการลงทุนที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆของโลก-ผู้แปล)
- การถือครองสิริราชย์สมบัติผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กว่า5,000ล้าน
เหรียญสหรัฐฯ
-ในปัจจุบันพระเจ้าอยู่หัวทรงมีที่ดิน13,000เอเคอร์ ในนั้นกว่า3,000เอเคอร์อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของไทย โดยพื้นที่บางแห่งมีมูลค่ากว่า30ล้านเหรียญต่อเอเคอร์

ทางด้านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานหุ้นที่ในหลวงของพสกนิกรชาวไทยถืออยู่ในนามของพระองค์ท่านมีดังนี้

1.SAMCO : บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจหมู่บ้านสัมมากร

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 197,414,850 43.87

2 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 45,847,050 10.19

3 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 25,000,000 5.56


2.TIC : บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของบริษัทประกันภัย

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3,526,567 18.56
5 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 456,168 2.40

7 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 391,276 2.06

9 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ 299,520 1.58

15 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 214,755 1.13


3. MINT : บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจพิซซ่า และไอศครีมSWENSEN

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 บริษัท ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 503,478,032 17.19

17 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 42,583,274 1.45

27 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 17,300,800 0.59

28 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 16,988,094 0.58


4.SINGER : บริษัท ซิงเกอร์ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจจักรเย็บผ้าและตู้เย็นเงินผ่อนSINGER


ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 SINGER ( THAILAND) B.V. 129,600,000 48.00

12 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 1,383,770 0.51

ส่วนหุ้นที่ไม่ได้ถือหุ้นในนามของพระองค์ท่าน แต่ผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินฯ ตลาดหลักทรัพย์ก็รายงานไว้ดังนี้

1.DVS : บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจประกันภัย


ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %

1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 10,475,992 87.30

2 บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด 1,042,200 8.69

3 คณะบุคคลนายวศิน นางกิ่งกาญจน์ โดยนายสมเกียรติ วงศ์รัตน์ 70,460 0.59


2. SCC : บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) เจ้าของธุรกิจปูนซิเมนต์ กระดาษ ปิโตรเคมี และฯลฯ

ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) % หุ้น

1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 360,000,000 30.00

6 บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 23,202,000 1.93

7 สำนักงานพระคลังข้างที่

3. SCB : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

1 CHASE NOMINEES LIMITED 42 127,748,066 6.74


5 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 100,265,685 5.29

6 บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 82,010,000 4.33

9 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 50,000,000 2.64


ส่วนตรงนี้เป็นการรายงานของสำนักงานทร้พย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ครับ

เดิมสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ ในสังกัดสำนักพระราชวัง ต่อมา มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการยกเว้นภาษีอากรเกี่ยวกับทรัพย์สินส่วนพระมหาก
ษัตริย์ พุทธศักราช 2477 เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2478 โดยบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ได้แบ่งแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ออกเป็น 2 ประเภท


สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีผู้เช่าในความดูแลประมาณ 37,000 สัญญา โดยกระจายอยู่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ประมาณ 25,000 สัญญา ส่วนภูมิภาคซึ่งครอบคลุมพื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก พิจิตร ลำปาง ราชบุรี เพชรบุรี สงขลา นครปฐม ฉะเชิงเทรา และชลบุรี รวมประมาณ 12,000 สัญญา

ขอเชิญพสกนิกรชาวไทยน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณจองธนบัตรเฉลิมพระเกียรติ80ปี น้อมถวายในหลวง1,000ล้านบาท

ธปท.ออกธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติฯ80ปีในหลวง ตั้งเป้าได้ไม่น้อยกว่า1,000ล้านบาททูลเกล้าถวาย

แบงก์ชาติคลอดธนบัตรที่ระลึกฯ80ปี 1 บาท 5 บาท 10 บาท 15 ล้านชุด แบบไม่ตัดแบ่งเปิดจองหมวด 9 หน้า ราคา 300 บาท ที่แบงก์พาณิชย์ แบงก์รัฐทั่วประเทศ 2 ส.ค.นี้ ส่วนหมวดปกติ 100 บาท แลกได้ 28 พ.ย.นี้

นายสมชาย ศฤงคารินกุล ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนและสนับสนุนการบริหาร ธปท.กล่าวว่า ถ้าจำหน่ายได้หมด จะมีรายได้ส่วนต่างจากมูลค่าหน้าธนบัตรที่ระลึกฯ หลังหักค่าใช้จ่ายจะนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ต่ำกว่า 1,000 ล้านบาท

เครื่องบินพระราชพาหนะ ปัจจุบันมีดังนี้

1.โบอิ้ง 737-400 ซึ่งปัจจุบันเป็นเครื่องพระที่นั่งที่ประจำการ
2.Airbus 319-300 เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง
3.Airbus-ACJ 319 หรือไทยคู่ฟ้าเดิม เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง

และ ที่มาใหม่ลำนี้
4. โบอิ้ง 737-800 ไม่ทราบราคาจริงๆ เท่าไหร่ แต่งบประมาณที่ตั้งไว้
คือ 3100 ล้านบาท ตั้งตอนปี 2548 สมัยรัฐบาลทักษิณ น่าจะอยู่ในงบ
ปี 49 นะ ยังไม่มีเวลาค้น

เมื่อลำใหม่ 737-800 มาจะมาเป็นเครื่องพระที่นั่งลำหลัก
แล้ว 737-400 อาจจะถูกประจำการกับฝูงบินเดโชชัยของ
สมเด็จพระบรมฯ ครับ