PPD's Official Website

Wednesday, February 3, 2016

ดร. เพียงดิน รักไทย ตอน ดร.เพียงดิน ชวนคิดชวนลุย ตอน "เอาไหม เปลี่ยนระบอบ ล้มระบบกษัตริย์และยึดทรัพย์คืน ปชช.???"

ถามจริ๊ง... อิ ๆ (ไม่ต้องตอบ ไม่ต้องกดไลค์ก็ได้ แต่กดไปฟังกันหน่อย)

ดร. เพียงดิน รักไทย ตอน ดร.เพียงดิน ชวนคิดชวนลุย ตอน "เอาไหม เปลี่ยนระบอบ ล้มระบบกษัตริย์และยึดทรัพย์คืน ปชช.??? "

ดร. เพียงดิน รักไทย ตอน ดร.เพียงดิน ชวนคิดชวนลุย ตอน "เอาไหม เปลี่ยนระบอบ ล้มระบบกษัตริย์และยึดทรัพย์คืน ปชช.???"

ถามจริ๊ง... อิ ๆ (ไม่ต้องตอบ ไม่ต้องกดไลค์ก็ได้ แต่กดไปฟังกันหน่อย)

ดร. เพียงดิน รักไทย ตอน ดร.เพียงดิน ชวนคิดชวนลุย ตอน "เอาไหม เปลี่ยนระบอบ ล้มระบบกษัตริย์และยึดทรัพย์คืน ปชช.??? "

Monday, February 1, 2016

International rights body downgrades Thai National Human Rights Commission

International rights body downgrades Thai National Human Rights Commission

Submitted by editor2 on Thu, 28/01/2016 - 18:38

An international human rights agency has downgraded Thailand's National Human Rights Commission (NHRC) due to failures in addressing human rights issues.

The Sub-Committee on Accreditation (SCA) of the International Coordinating Committee on National Human Rights Institutions (ICC), an independent international association of national human rights institutions (NHRIs) worldwide which monitors the performance of national human rights institutions, announced that it has downgraded the status of Thailand's NHRC from 'A' to 'B', the UN revealed on Thursday, 28 January 2016. 

The Paris Principles serve as the benchmark in accrediting human rights institutions in each country. 'A' status is given to institutions which demonstrate compliance with the Paris Principles. 'A' level NHRIs can participate fully as voting members in the international and regional work and meetings of the ICC, and they can hold office in the Bureau of the ICC or any sub-committee the Bureau establishes.

They are also able to participate in sessions of the UN Human Rights Council and take the floor under any agenda item, submit documentation and take up separate seating. 

Human rights institutions graded 'B', however, may participate only as observers in ICC international and regional work and meetings. They cannot vote or hold office in the Bureau or its sub-committees.

In October 2014, the ICC expressed concerns about Thailand's selection process for National Human Rights Commissioners, a lack of functional immunity and independence, and the failure to address human rights issues in a timely manner, especially in the context of military rule in Thailand. The agency was given 12 months to address the issues. 

After the ICC announcement, the UN Office of the High Commissioner for Human Rights (Southeast Asia) recommended that as Thailand is preparing a new Constitution, the drafting committee should use this opportunity to take on board the SCA's recommendations to ensure that the NHRC regains its 'A' status.

The current Commissioners, with Wat Tingsamid as the chair, took office in December 2015. 

In November 2015, more than a year after the 2014 coup d'état, the outgoing NHRC admitted that the Thai junta has trampled on human rights and that the demonstrations of the People's Democratic Reform Committee (PDRC), an anti-election protest, occasionally violated the constitutional right to peaceful assembly. 

Thailand's NHRC was founded under the 1997 Constitution but in the decade of political turmoil since the 2006 coup d'état, it has been heavily criticised for its ineffectiveness in safeguarding fundamental human rights, especially with regard to its silence over the violent military crackdown on red shirt protesters in 2010 and the 2014 coup. 

Sunai Phasuk, a researcher from Human Rights Watch (HRW), told Prachatai earlier that the inadequate selection process for NHRC commissioners results in the appointment of unqualified people.

"The selection process of the NHRC in a way picks people who do not have solid backgrounds in human rights and who are not independent as commissioners. This results in a lot of limitations of the rights commissioners," said Sunai.

Tyrell Haberkorn, a political science academic who is an expert on Thailand, pointed out "the last two NHRC commissions have had several problems in terms of their independence, which prevented them from investigating human rights abuses. The rights commissioners have been silent about the coup d'état." 

The consequences of being downgraded are:

• The Thai NHRC will be unable to express opinions or send documents to meetings of the UN Human Rights Council (UNHRC). This means they will not be able to send reports on the human rights situation in Thailand for the Universal Periodic Review (UPR) process of the UNHRC. The next UPR for Thailand is scheduled for April-May this year.

• The Thai NHRC will be considered merely an observer at regional and international human rights conferences organized by the UNHRC.

• The Thai NHRC will not be able to vote on any ICC decision or apply for ICC membership.

*****
#เสรีชน


153BFEA5-D433-41B9-9B64-8E43DC4A4704

International rights body downgrades Thai National Human Rights Commission

International rights body downgrades Thai National Human Rights Commission

Submitted by editor2 on Thu, 28/01/2016 - 18:38

An international human rights agency has downgraded Thailand's National Human Rights Commission (NHRC) due to failures in addressing human rights issues.

The Sub-Committee on Accreditation (SCA) of the International Coordinating Committee on National Human Rights Institutions (ICC), an independent international association of national human rights institutions (NHRIs) worldwide which monitors the performance of national human rights institutions, announced that it has downgraded the status of Thailand's NHRC from 'A' to 'B', the UN revealed on Thursday, 28 January 2016. 

The Paris Principles serve as the benchmark in accrediting human rights institutions in each country. 'A' status is given to institutions which demonstrate compliance with the Paris Principles. 'A' level NHRIs can participate fully as voting members in the international and regional work and meetings of the ICC, and they can hold office in the Bureau of the ICC or any sub-committee the Bureau establishes.

They are also able to participate in sessions of the UN Human Rights Council and take the floor under any agenda item, submit documentation and take up separate seating. 

Human rights institutions graded 'B', however, may participate only as observers in ICC international and regional work and meetings. They cannot vote or hold office in the Bureau or its sub-committees.

In October 2014, the ICC expressed concerns about Thailand's selection process for National Human Rights Commissioners, a lack of functional immunity and independence, and the failure to address human rights issues in a timely manner, especially in the context of military rule in Thailand. The agency was given 12 months to address the issues. 

After the ICC announcement, the UN Office of the High Commissioner for Human Rights (Southeast Asia) recommended that as Thailand is preparing a new Constitution, the drafting committee should use this opportunity to take on board the SCA's recommendations to ensure that the NHRC regains its 'A' status.

The current Commissioners, with Wat Tingsamid as the chair, took office in December 2015. 

In November 2015, more than a year after the 2014 coup d'état, the outgoing NHRC admitted that the Thai junta has trampled on human rights and that the demonstrations of the People's Democratic Reform Committee (PDRC), an anti-election protest, occasionally violated the constitutional right to peaceful assembly. 

Thailand's NHRC was founded under the 1997 Constitution but in the decade of political turmoil since the 2006 coup d'état, it has been heavily criticised for its ineffectiveness in safeguarding fundamental human rights, especially with regard to its silence over the violent military crackdown on red shirt protesters in 2010 and the 2014 coup. 

Sunai Phasuk, a researcher from Human Rights Watch (HRW), told Prachatai earlier that the inadequate selection process for NHRC commissioners results in the appointment of unqualified people.

"The selection process of the NHRC in a way picks people who do not have solid backgrounds in human rights and who are not independent as commissioners. This results in a lot of limitations of the rights commissioners," said Sunai.

Tyrell Haberkorn, a political science academic who is an expert on Thailand, pointed out "the last two NHRC commissions have had several problems in terms of their independence, which prevented them from investigating human rights abuses. The rights commissioners have been silent about the coup d'état." 

The consequences of being downgraded are:

• The Thai NHRC will be unable to express opinions or send documents to meetings of the UN Human Rights Council (UNHRC). This means they will not be able to send reports on the human rights situation in Thailand for the Universal Periodic Review (UPR) process of the UNHRC. The next UPR for Thailand is scheduled for April-May this year.

• The Thai NHRC will be considered merely an observer at regional and international human rights conferences organized by the UNHRC.

• The Thai NHRC will not be able to vote on any ICC decision or apply for ICC membership.

*****
#เสรีชน


153BFEA5-D433-41B9-9B64-8E43DC4A4704

มหากาพย์ “ทหารมีไว้ทำไม?”

กลับไปอ่านบทความ
ของ อจ.นิธิ อีกครั้ง พบว่า
ที่ทำให้ "บักตู่" ของขึ้น 

เพราะบทความ ไม่ได้ให้
ความสำคัญล้ำเลิศ แก่
การมีกองทัพ ไว้ให้อ้างว่า 

"ปกป้องแผ่นดินนี้มา
ตลอดชีวิต"

คำถามง่ายๆ ที่ ดร.นิธิ 
เอียวศรีวงศ์ เขียนไว้
ตั้งแต่ต้นเดือน กลับมา
เป็นประเด็นร้อนกว่าเก่า!

เมื่อหัวหน้า คสช.เก็บ
เอามาแสดงอารมณ์อีก 
หลังจากนักข่าวพาดพิง
ถึงบทความ
เรื่อง "ทหาร มีไว้ทำไม"

"ไปถาม ว่าเขาทำประ-
โยชน์อะไรให้แผ่นดินนี้มั่ง! 
มาไล่กับผมดูก่อน หนึ่ง 
ทำอะไร...ก็มาด่ากับผมอีก
...ขี้เกียจ...มันคนละ...คน...
ไม่ได้....?

ผมทำหน้าที่ ผมปกป้อง
แผ่นดินนี้ มาตลอดชีวิต
ของผม!! 

- ให้ใคร...ให้คนเหล่านี้
    มาพูด 
-ให้คนเหล่านี้มาทำลาย...
ชีวิตผมนะ..ไปถามมันด้วย"


จดมาชัดๆ จากคลิป
ของมติชนทีวี 

เพื่อให้ดูกันว่าคำตอบจาก 
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา 

น่าจะอยู่ที่ว่า 
"ปกป้องแผ่นดิน" เหมือน
กับที่ทหารอื่นๆในทีม
ยึดอำนาจรัฐบาลพลเรือน
ออกมาโต้กันไว้แล้วนั้น!

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด 
พล.อ.สมหมาย เกาฎีระ 
อ้างรัฐธรรมนูญ "บอกว่า" 

'เป็นรั้วของชาติ ปกป้อง
สถาบันฯ และช่วยเหลือ
ประชาชน' แล้วแถมว่า "
เป็นคำถามที่ไม่ควร"


ส่วนโฆษกกระทรวง
กลาโหม พล.ต.คงชีพ 
ตันตระวาณิชย์ ก็ "อ้างว่า" 

"พร้อมปกป้องผลประ
โยชน์ของชาติ ฯลฯ" 

แล้วย้อนถามกลับ 
ว่าบริษัทมียามไหม 
แถมอีกเหมือนกันว่า 
"บั่นทอนจิตใจทหาร
อย่างมาก"


จะเห็นว่าล้วนแต่ตอบ
แบบ 'ตอกกลับ'  'จวกใส่' 
กันอย่างชายชาติ "ตะหาน"
ทั้งนั้น 

แต่ประยุทธ์ไปไกลยิ่งกว่า
ในฐานะหัวหน้าใหญ่ 
"ไปถามมันด้วย! ทำประ-
โยชน์อะไรให้แผ่นดินนี้
มั่ง"

ฟังแต่เสียง อ่านแต่ถอดคำ 
ไม่ถึงใจ! ต้องได้ดูคลิป! 
แล้วจะเห็นแจ้งว่า
แบบบท ของทั่นหยดย้อย 
ดั่งพระเอกลิเก!!!

ก็มีคนศอกกลับแทน 
อจ.นิธิ ไว้บ้างแล้ว
ว่า บริษัทไหน ที่ให้ยาม
มายึดบ้าน หรือเอายาม
มาเป็นผู้จัดการ รวมทั้ง 
วงษ์ทนง 'อะเดย์'

"ไม่แน่ใจว่า 
อ.นิธิ เอียวศรีวงศ์ 
ได้ทำอะไรเพื่อชาติบ้าง? 

แต่ติดตามงานเขียน
ของอาจารย์ฯมานาน 
ตอบแทนได้ ว่าท่าน
ให้ทรรศนะ ความคิด 
และสติปัญญาต่อสังคม
ตลอดมา"


แต่จะให้แน่ต้องกลับไป
อ่านบทความของ อจ.นิธิ
ที่ทำให้ บักตู่ "ของขึ้น"
กันอีกครั้ง พบว่า

ในสังคมไทย 'ทหาร' 
ไม่เคย เป็นชนชั้น 
"นักรบ" มาก่อน 

เหมือนในยุโรปและญี่ปุ่น 
ซึ่ง "ความสามารถในการ
รบเป็นเกียรติยศในตัวของ
มันเอง ไม่ใช่ไว้ทำมาหากิน" 

และ "ถ้ามันเคยมีความ
หมายอะไรเกี่ยวกับเรื่อง
รบราฆ่าฟันมาก่อน 
ความหมายนั้นก็เลือนไป
ในกฎหมายตราสามดวง
แล้ว"

การรักษาอธิปไตย
ของรัฐชาติไม่ใช่หน้าที่
ของทหาร แต่ฝ่ายเดียว 

"กองทัพประจำชาติ
คือกระดุมที่ติดอยู่ปลาย
แขนเสื้อนอก ซึ่งไม่ได้
มีไว้กลัดกับอะไร 

แต่ต้องมีไว้เพราะ
เป็นธรรมเนียมที่เหลือ
ตกค้างมาแต่อดีต"

มิหนำซ้ำ "กองทัพใน
หลายรัฐชาติ จึงขัดขวาง
พัฒนาการสองอย่าง
ของรัฐชาติ 

หนึ่ง: คือขัดขวางพัฒนา
การของประชาธิปไตย 

และสอง: คือขัดขวาง
แม้แต่พัฒนาการของ
ความเป็นชาติในรัฐนั้น"

"กองทัพแห่งชาติบวกกับ
ธุรกิจค้าอาวุธ และยุทธ
บริการแก่ทหาร... 

ทำให้กองทัพ ไม่ว่า
ของชาติใดทั้งสิ้น เป็น
องค์กรรัฐ ที่สิ้นเปลือง
อย่างมาก 

จนบางครั้งแทบทำให้
รัฐพิการลงไป เพราะ
หมดสมรรถนะ ที่จะดูแล
พลเมืองของตนเอง"

- ไม่มีกองทัพ เราจะ
สามารถทำให้ทุกคน
เข้านอนได้ด้วย ท้องที่อิ่ม! 

- ไม่มีกองทัพ จะมีเงินเหลือ
มาปรับปรุงระบบ สุขภาพ
ถ้วนหน้า ได้มากกว่านี้อีก...

- ไม่มีกองทัพ ทั้งโลก
จะยิ่งพัฒนากลไกระหว่าง
ประเทศ! 

เพื่อระงับสงคราม....
ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 

- ไม่มีกองทัพ! 
จะมีโลกใหม่ ที่ชีวิตผู้คน
อาจดำเนินไปอย่าง
สงบสุขและสร้างสรรค์กว่า
ที่เราเผชิญมา"


เนื้อความหลัก ของข้อ
เขียน อจ.นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์
อย่างนั้น.... 

แน่ละ! อาจทำให้คน
ที่กินเงินเดือนและผล
ประโยชน์ต่างๆ ด้วย
การเป็นทหารเกิดความ
ไม่พอใจบ้าง!

เพราะบทความไม่ได้
ให้ความสำคัญล้ำเลิศ
แก่การมีกองทัพไว้ให้
อ้างว่า...... 

"ปกป้องแผ่นดินนี้
มาตลอดชีวิตของผม"

ในเมื่อตลอด ๖๐ ปีที่ผ่าน
มาชั่วอายุของหัวหน้า 
คสช. รัฐชาติไทย ไม่ได้มี
เหตุคุกคามแผ่นดินอะไร...

...มากไปกว่าการกระทบ
กระทั่งชายแดนพม่า.. 
เพราะการขัดแย้งผล
ประโยชน์การค้ายาเสพติด
กับกองกำลังกะเหรี่ยง 

มีการปะทะด้วยกำลัง
ภายในเขตพม่า ที่ทหาร
ไทยเสียหายไม่น้อย..

อีกครั้ง การรบด้วย
ปืนใหญ่ชายแดนกับลาว
ฝ่ายไทยถอยร่นไม่เป็นท่า 

และล่าสุดความขัดแย้ง
กับเขมรเมื่อกลุ่มการเมือง
พันธมิตรเสื้อเหลือง-ปชป. 
พยายามก่อเหตุกรณีเขา
พระวิหาร 

จนคนไทย ชายหนึ่ง
หญิงหนึ่งโดนจับขังคุก
เขมร!

และเขาพระวิหาร ก็ยังคง
เป็นของเขมร อย่างสง่า
งาม และเฟื่องฟู!!! 

ทหาร คสช. ทำทีจะไป
ขอเอี่ยวให้กลับมาขึ้น
ฝั่งไทย เขมรตอบว่า เช๊อะ!

ขอบใจ! but, No, thank!
(แต่ไม่! ขอบคุณครับ!)

เมื่อวานนี้ประยุทธ์
ไปพูดในงานวันสถาปนา
โรงเรียนเตรียมทหาร 

"ถามว่าทหาร น่ารังเกียจ
ตรงไหน? เขาพยายาม
สลายทหารให้ได้.... 

ดังนั้น! ขอให้ไปบอกใคร
ก็ไม่รู้ว่า เราไม่ได้หวง
สถาบัน!
แต่เราต้องเป็นแกนให้รัฐ
และประชาชนช่วยกัน"

Atukkit Sawangsuk 
เลยได้ช่องแซว ว่า 

"ใครใช้ให้เป็น งั้นครู 
อาจารย์ หมอ พยาบาล 
นักวิชาการ สรรพากร 
ศุลกากร ไม่มีปืนเป็นแกน
ได้ไหม?"

ไม่หวงสถาบันก็กลับไป
เป็นยามสิ! ไม่เห็นมีใคร
ว่าอะไร 

แค่ต้องปฏิรูปกองทัพ
ไม่ให้มีอภิสิทธิ์เหนือ
ข้าราชการทั่วไป 

ไม่ให้มีนายพลล้นเกินหัว 
โตกว่ากระทรวง ทบวงกรม
ทั้งหลาย"

นั่นพอทำเนา บางคน
เขาย้อนอีกอย่าง ว่า 

"ถ้าคนอาชีพอื่นๆติดอาวุธ
บ้าง ดูสิว่าพวกเขาจะทำ
ได้ดีกว่าไหม"

เขาไม่ได้ดูถูกน้ำใจ หรือ
หัวใจอะไรเลย? แค่ชี้ให้เห็น
ว่าพวกทั่นนั่นแหละคุยโว 
คุยใหญ่คุยโต สามหาว 
ก้าวร้าว ข่มเหง มาตลอด...

โจทย์ที่ต้องตอบ
เรื่องกระทรวงพาณิชย์
แจ้งว่า การส่งออก
ของไทยต่ำสุดในรอบ ๖ ปี 
ไม่ยักสนใจ....

ข้อสำคัญ มีคนที่ทำ 
มาได้ดีอยู่แล้ว พวก
ทั่นมิใช่หรือที่ปลุกปั่น
ให้เป็นเรื่องใหญ่
เพื่อเขี่ยเขาออกไป?

Posted by Independent 
Correspondent
ส่งเรื่องเข้ามาโดยนักเขียน
อิสระ

 (BB5007แบ่งวรรค/ตอน)

มหากาพย์ “ทหารมีไว้ทำไม?”

กลับไปอ่านบทความ
ของ อจ.นิธิ อีกครั้ง พบว่า
ที่ทำให้ "บักตู่" ของขึ้น 

เพราะบทความ ไม่ได้ให้
ความสำคัญล้ำเลิศ แก่
การมีกองทัพ ไว้ให้อ้างว่า 

"ปกป้องแผ่นดินนี้มา
ตลอดชีวิต"

คำถามง่ายๆ ที่ ดร.นิธิ 
เอียวศรีวงศ์ เขียนไว้
ตั้งแต่ต้นเดือน กลับมา
เป็นประเด็นร้อนกว่าเก่า!

เมื่อหัวหน้า คสช.เก็บ
เอามาแสดงอารมณ์อีก 
หลังจากนักข่าวพาดพิง
ถึงบทความ
เรื่อง "ทหาร มีไว้ทำไม"

"ไปถาม ว่าเขาทำประ-
โยชน์อะไรให้แผ่นดินนี้มั่ง! 
มาไล่กับผมดูก่อน หนึ่ง 
ทำอะไร...ก็มาด่ากับผมอีก
...ขี้เกียจ...มันคนละ...คน...
ไม่ได้....?

ผมทำหน้าที่ ผมปกป้อง
แผ่นดินนี้ มาตลอดชีวิต
ของผม!! 

- ให้ใคร...ให้คนเหล่านี้
    มาพูด 
-ให้คนเหล่านี้มาทำลาย...
ชีวิตผมนะ..ไปถามมันด้วย"


จดมาชัดๆ จากคลิป
ของมติชนทีวี 

เพื่อให้ดูกันว่าคำตอบจาก 
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา 

น่าจะอยู่ที่ว่า 
"ปกป้องแผ่นดิน" เหมือน
กับที่ทหารอื่นๆในทีม
ยึดอำนาจรัฐบาลพลเรือน
ออกมาโต้กันไว้แล้วนั้น!

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด 
พล.อ.สมหมาย เกาฎีระ 
อ้างรัฐธรรมนูญ "บอกว่า" 

'เป็นรั้วของชาติ ปกป้อง
สถาบันฯ และช่วยเหลือ
ประชาชน' แล้วแถมว่า "
เป็นคำถามที่ไม่ควร"


ส่วนโฆษกกระทรวง
กลาโหม พล.ต.คงชีพ 
ตันตระวาณิชย์ ก็ "อ้างว่า" 

"พร้อมปกป้องผลประ
โยชน์ของชาติ ฯลฯ" 

แล้วย้อนถามกลับ 
ว่าบริษัทมียามไหม 
แถมอีกเหมือนกันว่า 
"บั่นทอนจิตใจทหาร
อย่างมาก"


จะเห็นว่าล้วนแต่ตอบ
แบบ 'ตอกกลับ'  'จวกใส่' 
กันอย่างชายชาติ "ตะหาน"
ทั้งนั้น 

แต่ประยุทธ์ไปไกลยิ่งกว่า
ในฐานะหัวหน้าใหญ่ 
"ไปถามมันด้วย! ทำประ-
โยชน์อะไรให้แผ่นดินนี้
มั่ง"

ฟังแต่เสียง อ่านแต่ถอดคำ 
ไม่ถึงใจ! ต้องได้ดูคลิป! 
แล้วจะเห็นแจ้งว่า
แบบบท ของทั่นหยดย้อย 
ดั่งพระเอกลิเก!!!

ก็มีคนศอกกลับแทน 
อจ.นิธิ ไว้บ้างแล้ว
ว่า บริษัทไหน ที่ให้ยาม
มายึดบ้าน หรือเอายาม
มาเป็นผู้จัดการ รวมทั้ง 
วงษ์ทนง 'อะเดย์'

"ไม่แน่ใจว่า 
อ.นิธิ เอียวศรีวงศ์ 
ได้ทำอะไรเพื่อชาติบ้าง? 

แต่ติดตามงานเขียน
ของอาจารย์ฯมานาน 
ตอบแทนได้ ว่าท่าน
ให้ทรรศนะ ความคิด 
และสติปัญญาต่อสังคม
ตลอดมา"


แต่จะให้แน่ต้องกลับไป
อ่านบทความของ อจ.นิธิ
ที่ทำให้ บักตู่ "ของขึ้น"
กันอีกครั้ง พบว่า

ในสังคมไทย 'ทหาร' 
ไม่เคย เป็นชนชั้น 
"นักรบ" มาก่อน 

เหมือนในยุโรปและญี่ปุ่น 
ซึ่ง "ความสามารถในการ
รบเป็นเกียรติยศในตัวของ
มันเอง ไม่ใช่ไว้ทำมาหากิน" 

และ "ถ้ามันเคยมีความ
หมายอะไรเกี่ยวกับเรื่อง
รบราฆ่าฟันมาก่อน 
ความหมายนั้นก็เลือนไป
ในกฎหมายตราสามดวง
แล้ว"

การรักษาอธิปไตย
ของรัฐชาติไม่ใช่หน้าที่
ของทหาร แต่ฝ่ายเดียว 

"กองทัพประจำชาติ
คือกระดุมที่ติดอยู่ปลาย
แขนเสื้อนอก ซึ่งไม่ได้
มีไว้กลัดกับอะไร 

แต่ต้องมีไว้เพราะ
เป็นธรรมเนียมที่เหลือ
ตกค้างมาแต่อดีต"

มิหนำซ้ำ "กองทัพใน
หลายรัฐชาติ จึงขัดขวาง
พัฒนาการสองอย่าง
ของรัฐชาติ 

หนึ่ง: คือขัดขวางพัฒนา
การของประชาธิปไตย 

และสอง: คือขัดขวาง
แม้แต่พัฒนาการของ
ความเป็นชาติในรัฐนั้น"

"กองทัพแห่งชาติบวกกับ
ธุรกิจค้าอาวุธ และยุทธ
บริการแก่ทหาร... 

ทำให้กองทัพ ไม่ว่า
ของชาติใดทั้งสิ้น เป็น
องค์กรรัฐ ที่สิ้นเปลือง
อย่างมาก 

จนบางครั้งแทบทำให้
รัฐพิการลงไป เพราะ
หมดสมรรถนะ ที่จะดูแล
พลเมืองของตนเอง"

- ไม่มีกองทัพ เราจะ
สามารถทำให้ทุกคน
เข้านอนได้ด้วย ท้องที่อิ่ม! 

- ไม่มีกองทัพ จะมีเงินเหลือ
มาปรับปรุงระบบ สุขภาพ
ถ้วนหน้า ได้มากกว่านี้อีก...

- ไม่มีกองทัพ ทั้งโลก
จะยิ่งพัฒนากลไกระหว่าง
ประเทศ! 

เพื่อระงับสงคราม....
ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 

- ไม่มีกองทัพ! 
จะมีโลกใหม่ ที่ชีวิตผู้คน
อาจดำเนินไปอย่าง
สงบสุขและสร้างสรรค์กว่า
ที่เราเผชิญมา"


เนื้อความหลัก ของข้อ
เขียน อจ.นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์
อย่างนั้น.... 

แน่ละ! อาจทำให้คน
ที่กินเงินเดือนและผล
ประโยชน์ต่างๆ ด้วย
การเป็นทหารเกิดความ
ไม่พอใจบ้าง!

เพราะบทความไม่ได้
ให้ความสำคัญล้ำเลิศ
แก่การมีกองทัพไว้ให้
อ้างว่า...... 

"ปกป้องแผ่นดินนี้
มาตลอดชีวิตของผม"

ในเมื่อตลอด ๖๐ ปีที่ผ่าน
มาชั่วอายุของหัวหน้า 
คสช. รัฐชาติไทย ไม่ได้มี
เหตุคุกคามแผ่นดินอะไร...

...มากไปกว่าการกระทบ
กระทั่งชายแดนพม่า.. 
เพราะการขัดแย้งผล
ประโยชน์การค้ายาเสพติด
กับกองกำลังกะเหรี่ยง 

มีการปะทะด้วยกำลัง
ภายในเขตพม่า ที่ทหาร
ไทยเสียหายไม่น้อย..

อีกครั้ง การรบด้วย
ปืนใหญ่ชายแดนกับลาว
ฝ่ายไทยถอยร่นไม่เป็นท่า 

และล่าสุดความขัดแย้ง
กับเขมรเมื่อกลุ่มการเมือง
พันธมิตรเสื้อเหลือง-ปชป. 
พยายามก่อเหตุกรณีเขา
พระวิหาร 

จนคนไทย ชายหนึ่ง
หญิงหนึ่งโดนจับขังคุก
เขมร!

และเขาพระวิหาร ก็ยังคง
เป็นของเขมร อย่างสง่า
งาม และเฟื่องฟู!!! 

ทหาร คสช. ทำทีจะไป
ขอเอี่ยวให้กลับมาขึ้น
ฝั่งไทย เขมรตอบว่า เช๊อะ!

ขอบใจ! but, No, thank!
(แต่ไม่! ขอบคุณครับ!)

เมื่อวานนี้ประยุทธ์
ไปพูดในงานวันสถาปนา
โรงเรียนเตรียมทหาร 

"ถามว่าทหาร น่ารังเกียจ
ตรงไหน? เขาพยายาม
สลายทหารให้ได้.... 

ดังนั้น! ขอให้ไปบอกใคร
ก็ไม่รู้ว่า เราไม่ได้หวง
สถาบัน!
แต่เราต้องเป็นแกนให้รัฐ
และประชาชนช่วยกัน"

Atukkit Sawangsuk 
เลยได้ช่องแซว ว่า 

"ใครใช้ให้เป็น งั้นครู 
อาจารย์ หมอ พยาบาล 
นักวิชาการ สรรพากร 
ศุลกากร ไม่มีปืนเป็นแกน
ได้ไหม?"

ไม่หวงสถาบันก็กลับไป
เป็นยามสิ! ไม่เห็นมีใคร
ว่าอะไร 

แค่ต้องปฏิรูปกองทัพ
ไม่ให้มีอภิสิทธิ์เหนือ
ข้าราชการทั่วไป 

ไม่ให้มีนายพลล้นเกินหัว 
โตกว่ากระทรวง ทบวงกรม
ทั้งหลาย"

นั่นพอทำเนา บางคน
เขาย้อนอีกอย่าง ว่า 

"ถ้าคนอาชีพอื่นๆติดอาวุธ
บ้าง ดูสิว่าพวกเขาจะทำ
ได้ดีกว่าไหม"

เขาไม่ได้ดูถูกน้ำใจ หรือ
หัวใจอะไรเลย? แค่ชี้ให้เห็น
ว่าพวกทั่นนั่นแหละคุยโว 
คุยใหญ่คุยโต สามหาว 
ก้าวร้าว ข่มเหง มาตลอด...

โจทย์ที่ต้องตอบ
เรื่องกระทรวงพาณิชย์
แจ้งว่า การส่งออก
ของไทยต่ำสุดในรอบ ๖ ปี 
ไม่ยักสนใจ....

ข้อสำคัญ มีคนที่ทำ 
มาได้ดีอยู่แล้ว พวก
ทั่นมิใช่หรือที่ปลุกปั่น
ให้เป็นเรื่องใหญ่
เพื่อเขี่ยเขาออกไป?

Posted by Independent 
Correspondent
ส่งเรื่องเข้ามาโดยนักเขียน
อิสระ

 (BB5007แบ่งวรรค/ตอน)